Page 61 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 61

การศึกษาเรื่องความหมาย 8-51
from the Creator. Keep it, guard it, care for it, for it keeps men, guards men, cares
for men. Destroy it and man is destroyed.*

           ขอ้ ความขา้ งตน้ เปน็ ทำ� นองพรรณนาความ เปน็ ภาษาทางวรรณคดี (literary) ผเู้ ขยี น
จะหยบิ ยกสงิ่ ใดสงิ่ หนง่ึ ขน้ึ มาเปน็ จดุ สนใจ และใชถ้ อ้ ยคำ� บรรยายถงึ สงิ่ นนั้ เปน็ การโนม้ นา้ วใจผอู้ า่ น
ใหค้ ลอ้ ยตามและมองเหน็ ภาพไปดว้ ย การบรรยายความทำ� นองนอี้ าจยดื ยาวเพยี งใดกไ็ ด้ ขน้ึ อยกู่ บั
ความสามารถของผูเ้ ขียนที่จะไม่ทำ� ใหข้ อ้ ความนัน้ นา่ เบื่อหนา่ ยสำ� หรับผอู้ า่ น เพราะข้อความชนดิ น้ี
ยังไม่มีเนื้อเร่ือง ผู้เขียนเพียงแต่ต้องการสร้างภาพข้ึนในใจผู้อ่าน จึงต้องใช้ความละเอียดในการ
ถา่ ยทอดความประทับใจทกุ แงท่ ุกมมุ ออกมาเป็นถ้อยคำ�

           (3) 	Let us now turn from literary to scientific communication. As I have
pointed out, the technical writer too aims at expressing aspects of reality which are
not accounted for in ordinary uses of language. He too has to devise a special mode
of communication. We have seen how the grammatical category of person is realized
in literary writing; we will now look at how it is realized in scientific writing.

      ตัวอย่างข้างต้นเป็นภาษาท่ีเรียกว่า academic English คือ ภาษาท่ีใช้ในวงการศึกษา
เป็นการบรรยายทางวิชาการในสถานที่ท่ีน่าจะเป็นห้องบรรยายของมหาวิทยาลัย ข้อความท่ีพิมพ์
เปน็ ตวั เอนเปน็ สำ� นวนทม่ี กั จะใชใ้ นการบรรยายหรอื การอธบิ ายความ โดยมผี พู้ ดู คอื speaker หรอื
lecturer และผ้ฟู งั คือ audience ผ้พู ดู จะใช้สรรพนามบุรษุ ท่ี 1 คือ I แตเ่ มอื่ ต้องการหมายถึงผฟู้ งั
มกั ไมน่ ยิ มใชส้ รรพนามบรุ ษุ ทสี่ อง คอื you แตจ่ ะใช้ we แทนเปน็ การรวมตนเองเขา้ ในหมผู่ ฟู้ งั ดว้ ย

      ส�ำหรับ non-technical language คอื ภาษาที่ไมต่ ้องการความรทู้ างวชิ าการด้านใดด้าน
หน่ึงมาเป็นเครื่องช่วยในการท�ำความเข้าใจ ได้แก่ภาษาที่ใช้กันในชีวิตประจ�ำวันท่ัวๆ ไป เช่น
การทกั ทาย การพดู คุย ตลอดจนถงึ การถกเถยี งกนั เป็นตน้

      2. 	วิธีการส่ือความ (Mode) ผูอ้ ่านควรเขา้ ใจวธิ ีสังเกตความแตกตา่ งระหวา่ งภาษาพดู และ
ภาษาเขียน เพราะภาษาทั้งสองลักษณะเป็นส่ิงท่ีผู้อ่านพบเห็นอยู่เป็นประจ�ำ  เช่น บทความใน
หนงั สือพมิ พบ์ างครง้ั จะเป็นสำ� นวนภาษาเขยี น แต่บางบทความผเู้ ขยี นอาจเขยี นด้วยลีลาของภาษา
พูด ผู้อ่านที่มีประสบการณ์จะสามารถบอกได้ว่าผู้เขียนมีจุดประสงค์เช่นใดจึงเลือกใช้ภาษานั้นๆ
ความรู้สึกท่ีได้รับในการอ่านก็จะแตกต่างกันไปตามลักษณะของภาษาท่ีใช้ด้วย เท่ากับว่าผู้อ่าน
สามารถเข้าใจความหมายที่ซ่อนอยู่ นอกเหนือไปจากการเข้าใจความหมายตรงตามตัวอักษรซึ่ง
เป็นการเข้าใจขน้ั พน้ื ฐาน

	 * Paton, A. (1984). Cry, The Beloved Country.
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66