Page 58 - ภาษาอังกฤษสำหรับครูสอนภาษา
P. 58

8-48 ภาษาองั กฤษสำ� หรบั ครูสอนภาษา

เร่ืองท่ี 8.3.3
ความหมายที่ได้จากแบบอย่างเฉพาะตนหรือเฉพาะกลุ่ม
(Stylistic Meaning)

      Stylistic meaning คอื ความหมายทไี่ ดจ้ ากลลี า ถอ้ ยคำ� สำ� นวนทเ่ี ปน็ แบบอยา่ งเฉพาะตน
หรือเฉพาะกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นภาษาพูดหรือภาษาเขียน ถ้อยค�ำส�ำนวนดังกล่าวนอกจากจะสื่อ
ความหมายโดยตรงแลว้ ความหมายเชงิ แบบทแ่ี ฝงมาดว้ ยคอื การทผี่ ไู้ ดฟ้ งั หรอื ไดอ้ า่ นถอ้ ยค�ำสำ� นวน
นัน้ ๆ สามารถบอกไดว้ า่ เป็นวิธีการพูดหรอื วธิ กี ารเขยี นของผใู้ ด ของหญงิ หรอื ชาย ของคนในวัยใด
ทอ้ งถิน่ ใด สาขาอาชีพใด มีระดับการศกึ ษาเช่นใด ใชใ้ นโอกาสใด เหลา่ นเ้ี ป็นตน้

      จากความรู้ในเร่ืองความหลากหลายในภาษา นกั ศกึ ษาจะเห็นว่า การใช้ภาษาอาจแตกตา่ ง
กันไปตามเพศและวัย หรือตามอาชีพการงานและสถานการณ์ ความหลากหลายดังกล่าวอาจ
เกดิ ขึน้ ไดท้ กุ ภาษา แตเ่ ม่อื เกิดข้ึนในภาษาต่างประเทศ ผู้ท่ไี มเ่ ข้าใจภาษานัน้ ๆ ดีพอก็อาจไม่เข้าใจ
“ความหมาย” ท้งั หมด ตัวอย่างเชน่

      ค�ำถาม Did you enjoy the show?
      คำ� ตอบ	(1) It was smashing/terrific.
      	 					 (2) It was superb.
      ค�ำตอบทั้งสองล้วนมีความหมายว่าผู้ตอบมีความเห็นว่าการแสดงนั้นเย่ียมยอดเป็นที่ถูกใจ
มาก แตส่ ำ� หรบั ผทู้ คี่ นุ้ เคยกบั วธิ ใี ชภ้ าษา อาจเกดิ ความเขา้ ใจเพมิ่ เตมิ วา่ ผตู้ อบทใ่ี ชค้ ำ� วา่ smashing/
terrific นา่ จะเปน็ ผทู้ อี่ ยใู่ นวยั เยาวห์ รอื วยั หนมุ่ สาว หรอื กำ� ลงั พดู อยา่ งเปน็ กนั เองกบั ผใู้ ดผหู้ นงึ่ สว่ น
ผทู้ ใี่ ชค้ ำ� วา่ superb นา่ จะเปน็ ผใู้ หญ่ หรอื ผทู้ ร่ี ะมดั ระวงั เลอื กสรรการใชถ้ อ้ ยคำ�  หรอื อาจกำ� ลงั พดู อยู่
ในสถานการณ์ที่ค่อนข้างเป็นทางการ ดังนี้เป็นต้น ทั้งนี้นักศึกษาได้เคยพบตัวอย่างการใช้ค�ำที่มี
ความหมายเหมอื นกันแต่ใหค้ วามรสู้ กึ ตา่ งกนั มาบ้างแลว้ หรือในตวั อย่างเพมิ่ เตมิ ต่อไปน้ี

           (1)	 Please move faster.
           (2)	Hurry up.
      ประโยคทั้งสองมีความหมายเช่นเดียวกัน แต่ภาษาที่ใช้ต่างกันมาก ภาษาท่ีใช้ในประโยค
(1) เปน็ วธิ ใี ชถ้ อ้ ยคำ� อยา่ งสภุ าพ คอ่ นขา้ งเปน็ พธิ รี ตี อง สว่ นประโยค (2) เปน็ สำ� นวนพดู ทเ่ี ปน็ กนั เอง
ส�ำนวนภาษาที่ต่างกันเช่นนี้ สื่อความหมายเชิงแบบว่าเป็นส�ำนวนภาษาท่ีใช้ในสถานการณ์หรือใช้
กับบุคคลต่างกัน ผู้ที่ได้ยินได้ฟังจะเข้าใจได้ว่า ส�ำนวนภาษาที่สุภาพ เป็นพิธีการนั้น มักจะใช้กับ
ผู้ที่เราไม่ใคร่สนิทสนมคุ้นเคย หรือผู้มีอาวุโสกว่า ส่วนส�ำนวนท่ีเป็นกันเองก็ใช้กันในหมู่ญาติมิตร
ผคู้ นุ้ เคยกนั หรอื ผทู้ อี่ ยใู่ นฐานะตาํ่ กวา่ เมอื่ ใดทม่ี กี ารใชผ้ ดิ ท่ี เชน่ นำ� สำ� นวนในประโยค (1) ไปใชก้ บั
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63