Page 36 - ความเป็นครู
P. 36

14-26 ความเป็นครู

ตอนท่ี 14.2

จรรยาบรรณของครู

โปรดอ่านแผนการสอนประจ�ำตอนที่ 14.2 แล้วจึงศึกษาเนื้อหาสาระ พร้อมปฏิบัติกิจกรรมในแต่ละตอน

  หัวเรือ่ ง

         เร่ืองที่ 14.2.1 	ความส�ำคัญของจรรยาบรรณต่อครูและวิชาชีพครู
         เรื่องที่ 14.2.2 	จรรยาบรรณท่ีส�ำคัญในวิชาชีพครู
         เรื่องที่ 14.2.3 	ปัญหาจรรยาบรรณของครู
         เร่ืองท่ี 14.2.4 	แนวทางการพัฒนาจรรยาบรรณของครู

  แนวคิด

         1.	 จ รรยาบรรณมีความส�ำคัญต่อครูและวิชาชีพท้ังในด้านเป็นการสร้างมาตรฐานพฤติกรรม
            ของผู้ประกอบวิชาชีพ และเป็นแนวทางให้หน่วยงานใช้ในการควบคุม ด�ำเนินการให้
            บุคลากรปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพที่ประกาศไว้กับสังคม

         2.	 จรรยาบรรณของครูมีขอบเขตครอบคลุมการประพฤติของครูต่อบุคลากรทุกฝ่ายท่ี
            เกย่ี วขอ้ ง ซง่ึ แบง่ เปน็ จรรยาบรรณตอ่ ตนเอง จรรยาบรรณตอ่ วชิ าชพี จรรยาบรรณตอ่ ผรู้ บั
            บริการ จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ และจรรยาบรรณต่อสังคม โดยก�ำหนด
            เปน็ กฎหมายทร่ี ะบพุ ฤตกิ รรมทพ่ี งึ ประสงคแ์ ละพฤตกิ รรมทไี่ มพ่ งึ ประสงคข์ องจรรยาบรรณ
            แต่ละด้าน ระบุการพิจารณาช้ีขาดท่ีรุนแรงถึงข้ันเพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ และ
            ระบุแนวทางอุทธรณ์ทางด้านจรรยาบรรณ

         3.	 ปัญหาจรรยาบรรณของครูครอบคลุมท้ังการไม่มีความรู้ การขาดทักษะที่จะปฏิบัติตาม
            จรรยาบรรณ รวมท้ังการไม่ตระหนักในความส�ำคัญของจรรยาบรรณที่มีต่อมาตรฐาน
            วิชาชีพและความส�ำคัญต่อตัวครูที่อาจได้รับการพิจารณาช้ีขาดที่รุนแรง

         4.	 ก ารพฒั นาจรรยาบรรณของครูควรใชแ้ นวทางการใช้อทิ ธิพลของสงั คมเพือ่ ให้การขัดเกลา
            เป็นตัวแบบและช่วยโน้มน้าวให้ครูมีจรรยาบรรณ โดยอาจใช้เป็นแนวทางในการก�ำหนด
            และการพฒั นาจรรยาบรรณ ควบคกู่ บั การเรง่ พฒั นาใหค้ รมู คี ณุ สมบตั ขิ องผมู้ จี รรยาบรรณ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41