Page 23 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 23
แนวคิดเกี่ยวกับส่ือและนวัตกรรมทางการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ 1-13
การท่ีจะพิจารณาว่าส่ิงใดเป็นนวัตกรรมหรือไม่นั้น มีหลักเกณฑ์ในการพิจารณาอยู่ 4 ประการ คือ
(ชัยยงค์ พรหมวงศ์, 2548)
1) จะต้องเป็นสิ่งใหม่ จะใหม่ท้ังหมดหรือบางส่วนก็ได้
2) มีการน�ำวิธีการจัดระบบ (System approach) มาใช้ และมีการก�ำหนดขั้นตอนการด�ำเนิน
การให้เหมาะสม ก่อนท่ีจะท�ำการเปลี่ยนแปลง
3) มกี ารพสิ จู นด์ ว้ ยการวจิ ยั หรอื อยรู่ ะหวา่ งการวจิ ยั วา่ สง่ิ ใหมน่ นั้ จะชว่ ยใหก้ ารแกป้ ญั หาและ
การด�ำเนินงานบางอย่างมีประสิทธิภาพสูงข้ึนกว่าเดิม
4) ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งในระบบงานปัจจุบัน
1.1 การพัฒนานวตั กรรม
เราสามารถแบ่งการพัฒนานวัตกรรม ออกได้เป็น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 เป็นระยะท่ีมีการประดิษฐ์คิดค้น (Innovation) อุปกรณ์หรือวิธีการใหม่ ๆ ข้ึนมา
หรือเป็นการน�ำของเก่าหรือของปัจจุบันมาปรับปรุงให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
ระยะท่ี 2 เป็นระยะของพัฒนาการ (Development) ในระยะนี้จะเป็นการน�ำเอาอุปกรณ์หรือ
วิธีการที่ได้มีการประดิษฐ์ หรือพัฒนาปรับปรุงข้ึน มาท�ำการทดลองใช้โดยจัดท�ำอยู่ในลักษณะของโครงการ
น�ำร่อง (Pilot project) เพื่อที่จะได้ทดสอบประสิทธิภาพและหาข้อบกพร่องของนวัตกรรมนั้น ๆ เพ่ือท่ีจะได้
ท�ำการแก้ไขและปรับปรุงให้ดีข้ึน
ระยะที่ 3 ระยะสดุ ทา้ ยของการพฒั นากจ็ ะเปน็ การนำ� นวตั กรรมนน้ั ๆ ไปใชใ้ นสถานการณจ์ รงิ
ท่ัวไป (Implement) เมื่อได้ด�ำเนินการตามขั้นตอนเหล่าน้ีแล้วจึงจะจัดว่าเป็นนวัตกรรมข้ันสมบูรณ์
จากแนวทางการพัฒนานวัตกรรมท้ัง 3 ระยะน้ี ต้องมีการวางแผนในการพัฒนา โดยก�ำหนด
เป็นข้ันตอนอย่างชัดเจน ดังนี้
1) ข้ันศึกษาวเิ คราะหป์ ัญหา
ขนั้ แรกของการพฒั นานวตั กรรมกค็ อื การระบวุ า่ ปญั หาทางการศกึ ษาทเ่ี ราตอ้ งการสรา้ ง/
พัฒนานวัตกรรมขึ้นมาเพ่ือแก้ไขปัญหานั้นคืออะไร มีสาเหตุมาจากอะไร มีปัจจัยท่ีเกี่ยวข้องอะไรบ้าง
2) ขั้นกำ� หนดวัตถุประสงค์
ในข้ันนี้เป็นการก�ำหนดขอบเขตว่าจะท�ำอะไรบ้าง โดยการน�ำปัญหาท่ีพบในขั้นที่ 1
มาแยกย่อยแล้วก�ำหนดเป็นวัตถุประสงค์ลงไปว่าจะท�ำอะไรเพื่อจะแก้ปัญหาดังกล่าว
3) ขน้ั ออกแบบ/สร้างนวตั กรรม
เมอื่ กำ� หนดขอบเขตและวตั ถปุ ระสงคข์ องการพฒั นาไดแ้ ลว้ ขนั้ ตอ่ มากค็ อื การออกแบบ/
สร้างนวัตกรรม ซึ่งนับว่าเป็นขั้นตอนที่ส�ำคัญยิ่งของกระบวนการพัฒนา โดยนวัตกรรมสามารถสร้างขึ้นได้
ด้วยการประยุกต์หลักการ ทฤษฎี เทคนิค และวิธีการต่าง ๆ เข้ามาใช้จนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ โดยท่ัวไป
แล้วการสร้างนวัตกรรมจะกระท�ำควบคู่ไปกับการวิจัย อันได้แก่ การวิจัยทางด้านคุณภาพ และด้าน
ประสิทธิภาพ ทั้งน้ี เพ่ือให้แน่ใจว่านวัตกรรมที่สร้างขึ้นนี้ มีคุณภาพและประสิทธิภาพตรงตามท่ีก�ำหนด