Page 26 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 26

1-16 ส่ือ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

                   ภาพที่ 1.4 ความสัมพนั ธข์ องโดเมนต่าง ๆ ของเทคโนโลยกี ารศึกษา

ทมี่ า: 	Seels & Richly. (1994). p. 27.

       ต่อมาในปี ค.ศ. 2004 เม่ือเร่ิมก้าวเข้าสู่ยุคของการเรียนการสอนผ่านเครือข่าย AECT ก็ได้ให้
ค�ำจ�ำกัดความใหม่ของเทคโนโลยีการศึกษาว่า “เทคโนโลยกี ารศึกษา หมายถึง การศึกษาและการน�ำไปปฏิบัติ
อย่างมีจริยธรรม ในเรื่องของการสนับสนุน อ�ำนวยความสะดวกและพัฒนาการเรียน โดยการสร้าง การใช้
และการจัดการ กระบวนการทางเทคโนโลยีและทรัพยากรท่ีเหมาะสม” (Robinson, Rhonda; Molenda,
Michael; Rezabek, Landra, 2016) การให้ค�ำจ�ำกัดความใหม่ของเทคโนโลยีการศึกษาในครั้งน้ี เป็นการ
มองเทคโนโลยีการศึกษาตามการเปลี่ยนแปลงกระบวนทัศน์ (Paradigm shift) ทางการศึกษา โดยใช้ค�ำว่า
สนับสนุนการพัฒนาการเรียนซ่ึงสอดคล้องกับทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง (Constructivism) ท่ี
ผู้เรียนเปน็ ศนู ยก์ ลางของการเรยี นและเนน้ ใหผ้ เู้ รียนสรา้ งความร้ดู ้วยตนเอง โดยมีผู้สอนเปน็ ผสู้ นบั สนนุ และ
ให้ค�ำแนะน�ำเท่าน้ัน และกล่าวเน้นในเรื่องของคุณภาพโดยระบุว่าเป็นการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ผ่านทาง
กระบวนการพัฒนาการเรียนการสอนท่ีประกอบด้วย 3 ข้ันตอน คือ การสร้าง การใช้ และการจัดการ

       จากค�ำจ�ำกัดความของเทคโนโลยีการศึกษาท่ีเปลี่ยนไปในช่วงเวลาต่าง ๆ น้ี แสดงให้เห็นได้ว่า
เทคโนโลยีการศึกษาไม่ได้เป็นส่ิงที่หยุดน่ิง แต่เปล่ียนแปลงไปเร่ือย ๆ ตามกาลเวลา ท้ังน้ีเพ่ือให้สอดคล้อง
กับนวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษาที่พัฒนาหรือเปลี่ยนแปลงไปอยู่ตลอดเวลา

       2.2 	พัฒนาการของเทคโนโลยกี ารศึกษา
       เทคโนโลยีการศึกษาเริ่มและมีวิวัฒนาการมานานแล้ว เราไม่สามารถบอกได้ว่าเร่ิมมาต้ังแต่เมื่อไร
หรือโดยใคร ทั้งน้ี ข้ึนอยู่กับการพิจารณาความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา หากเน้นในเรื่องของระบบ
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31