Page 45 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 45
ส่ือการจัดการเรียนรู้ที่ใช้ในการสอนวิทยาศาสตร์จ�ำแนกตามวิธีสอน 5-35
เรือ่ งที่ 5.2.1 สือ่ ทีใ่ ชใ้ นการจดั การเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์เพอื่ พฒั นา
ความรู้ ความคิด และการจดั ระบบความรู้
แบบแผนของการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มีแนวคิดพ้ืนฐานจากทฤษฎีการเรียนรู้ประจักษ์นิยม
ทใ่ี หค้ วามสำ� คญั กบั การศกึ ษาสง่ิ ทส่ี มั ผสั จบั ตอ้ งได้ และแนวคดิ ของนกั จติ วทิ ยากลมุ่ ปญั ญานยิ มทสี่ นใจศกึ ษา
กลไกในสมองที่ท�ำให้มนุษย์เกิดการเรียนรู้ ท�ำให้แนวทางในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ให้ความ
ส�ำคัญกับการใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นเคร่ืองมือให้ผู้เรียนได้ค้นพบความรู้ทางวิทยาศาสตร์
ด้วยตนเอง และการส่งเสริมให้มีการใช้กระบวนการคิด ซึ่งเป็นกระบวนการทางสมองเชื่อมโยงข้อมูลต่าง ๆ
จนเกดิ เปน็ การเรยี นรทู้ มี่ คี วามหมายของผเู้ รยี น แนวคดิ ดงั กลา่ วไดแ้ สดงออกเปน็ แนวทางในการจดั การเรยี น
การสอนแบบตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ การจดั การเรยี นการสอนเพอื่ พฒั นามโนมตทิ างวทิ ยาศาสตร์ การจดั การเรยี นการสอน
เพ่ือปรับเปล่ียนมโนมติที่คลาดเคล่ือน การจัดการเรียนการสอนโดยใช้การเขียนผังกราฟิก และการจัด
การเรียนการสอนเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งการจัดการเรียนการสอนแต่ละแบบ
ให้มีประสิทธิภาพจะต้องใช้ส่ือการสอนที่มีลักษณะสอดคล้องกับเป้าหมายเฉพาะของการใช้วิธีสอนแต่ละวิธี
ดังจะได้กล่าวถึงดังต่อไปนี้
1. สื่อประกอบการจัดการเรยี นการสอนเพื่อพฒั นามโนมติทางวิทยาศาสตร์
มโนมติ หมายถึง ความคิด ความเข้าใจเก่ียวกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งท่ีเกิดจากการได้สังเกต หรือได้รับ
ประสบการณ์ในเร่ืองนั้น ๆ จนเกิดการรับรู้ และสรุปเป็นความเข้าใจเร่ืองน้ัน ๆ ของแต่ละบุคคล เป็นผลให้
บุคคลสามารถท�ำงานหลายอย่างที่เก่ียวข้องกับสิ่งนั้น ได้แก่ การแยกแยะส่ิงนั้นออกจากส่ิงอ่ืนได้ ยกตัวอย่าง
สิ่งของที่เป็นพวกเดียวกันกับส่ิงน้ัน ตัดสินได้ว่าส่ิงใหม่ที่รู้จักเป็นพวกเดียวกันกับสิ่งนั้นหรือไม่ อธิบาย
ลักษณะส�ำคัญของความเป็นสิ่งน้ัน และก�ำหนดนิยามความหมายของสิ่งน้ันด้วยค�ำพูดของตัวเองได้
ในเน้ือหาวิชาวิทยาศาสตร์มีมโนมติทางวิทยาศาสตร์จ�ำนวนมากที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ และท�ำความ
เข้าใจวิธีการหลักท่ีใช้สอน คือ การอุปนัย และนิรนัย ช่วยการคิดเชื่อมโยงของผู้เรียน ส่ือการสอนที่ใช้จะต้อง
น�ำเสนอลักษณะเฉพาะท่ีแสดงความเป็นมโนมตินั้นได้อย่างโดดเด่นและชัดเจนเรียกว่าเป็นตัวอย่างและต้อง
ใช้ตัวอย่างหลาย ๆ ชิ้น เพื่อให้ครอบคลุมรายละเอียดของมโนมติทั้งหมดที่ต้องการให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ เช่น
มโนมติของสารละลายซึ่งหมายถึงของผสมท่ีรวมกันด้วยอัตราส่วนท่ีไม่แน่นอน รวมกันเป็นเน้ือเดียวและมี
สถานะเป็นท้ังของแข็ง ของเหลว และแก๊สได้ ตัวอย่างท่ีจะใช้เป็นสื่อต้องมีหลายตัวอย่างที่ทุกตัวอย่างต้อง
แสดงความเป็นของผสมเน้ือเดียวท่ีมีส่วนผสมที่มารวมกันในอัตราส่วนท่ีไม่แน่นอนและมีท้ังตัวอย่างท่ีเป็น
ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส