Page 43 - สื่อ นวัตกรรม และการวัดและประเมินผล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 43
13-33
2. กำ� หนดสง่ิ ทตี่ อ้ งการวดั สงิ่ ทต่ี อ้ งการวดั คอื ทกั ษะกระบวนการและการสบื เสาะทางวทิ ยาศาสตร์
13 ทักษะ ได้แก่ 1) ทักษะการสังเกต 2) ทักษะการวัด 3) ทักษะการใช้ตัวเลข 4) ทักษะการจ�ำแนกประเภท
5) ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา 6) ทักษะการจัดกระท�ำและสื่อ
ความหมายของข้อมูล 7) ทักษะการพยากรณ์ 8) ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล 9) ทักษะการตั้ง
สมมติฐาน 10) ทักษะการก�ำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ 11) ทักษะการก�ำหนดและควบคุมตัวแปร 12) ทักษะ
การทดลอง และ 13) ทักษะการตีความหมายข้อมูลและการลงข้อสรุป
3. การกำ� หนดลกั ษณะของเครือ่ งมือ ในขน้ั ตอนนีเ้ ปน็ การเลือกเครื่องมอื วดั ทกั ษะกระบวนการและ
การสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ให้เหมาะสมกับนักเรียน เครื่องมือวัดทักษะกระบวนการมีหลายประเภท เช่น
แบบทดสอบแบบเลือกตอบ แบบทดสอบแบบเขียนตอบ หรือแบบทดสอบภาคปฏิบัติ แบบประเมินทักษะ
ปฏิบัติ เป็นต้น
4. จัดท�ำแผนผังการสร้างเครื่องมือ เป็นการวางแผนการสร้างเครื่องมือวัดโดยจัดเตรียมตาราง
แผนผังการสร้างแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์
5. การจัดท�ำเครื่องมือฉบับร่าง ในขั้นตอนนี้เป็นการเขียนหรือสร้างข้อค�ำถามตามแผนผังการสร้าง
เคร่ืองมือท่ีได้จัดท�ำไว้แล้ว โดยจัดท�ำแบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นแบบทดสอบแบบปรนัย
จ�ำนวน 20 ข้อ อัตนัย 1 ข้อ และข้อสอบภาคปฏิบัติ 1 ข้อ
6. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือตรวจสอบคุณภาพรายข้อในด้านยากและอ�ำนาจจ�ำแนก
ตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือท้ังฉบับในด้านความตรงและความเที่ยง
7. การจัดท�ำเครื่องมือฉบับสมบูรณ์
แนวตอบกจิ กรรม 13.2.3
1. การตรวจสอบคุณภาพเคร่ืองมือวัดทักษะกระบวนการและการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์เป็น
รายข้อพิจารณาจากความยากและอ�ำนาจจ�ำแนก ดังน้ี
1.1 การตรวจสอบความยากของเคร่ืองมือวัดทักษะกระบวนการและการสืบเสาะทาง
วิทยาศาสตร์ ใช้วิธีการตรวจสอบความยากของเคร่ืองมือเหมือนกับการตรวจสอบความยากของเครื่องมือ
วัดความรู้ทางวิทยาศาสตร์
1.2 การตรวจสอบอ�ำนาจจ�ำแนกของเครื่องมือวัดทักษะกระบวนการและการสืบเสาะทาง
วิทยาศาสตร์ การตรวจสอบอ�ำนาจจ�ำแนกของข้อค�ำถามมีวิธีที่นิยมใช้ 3 วิธี ได้แก่ 1) การตรวจสอบคุณภาพ
อ�ำนาจจ�ำแนกอย่างง่ายของเครื่องมือวัดทักษะกระบวนการและการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ 2) การตรวจ
สอบอ�ำนาจจ�ำแนกของข้อความในเคร่ืองมือวัดทักษะกระบวนการและการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์โดยการ
เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากคนกลุ่มสูงกับคะแนนท่ีได้จากคนกลุ่มต่ํา ด้วยการทดสอบ
ค่าที (t-test) และ 3) การตรวจสอบอ�ำนาจจ�ำแนกของข้อความโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
เป็นการหาความคงท่ีภายในของข้อความ เป็นวิธีการหาค่าอ�ำนาจจ�ำแนกท่ีมีความเช่ือว่าข้อความที่วัดทักษะ
กระบวนการและการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ทั้งฉบับน้ันวัดในเร่ืองเดียวกัน คะแนนแต่ละข้อจึงควรมีความ