Page 42 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 42

1-32 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

            ดังนั้น จึงกล่าวได้ว่าโมเดลการวิจัย หรือกรอบแนวคิดการวิจัย มีความเก่ียวข้องโดยตรงกับ
การออกแบบการวิจัย ท้ังนี้เพราะแบบการวิจัยที่เก่ียวข้องกับการวัดตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ ตัวแปร
ต่าง ๆ ท่ีอยู่ในกรอบของการวิจัยอาจใช้วิธีการวัดและการออกแบบการวิจัยท่ีแตกต่างกัน ตัวแปรบางตัวต้อง
อาศัยการทดลองในการเก็บข้อมูล หรือตัวแปรบางตัวอาจต้องเก็บข้อมูลสองรอบหรือมากกว่า จะเห็นได้ว่า
วิธีการเหล่านี้ล้วนเก่ียวข้องกับแบบแผนการวิจัยทั้งส้ิน

       จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวข้อง ผู้วิจัยสามารถต้ังสมมติฐานการวิจัย หรือคาดหวังใน
ผลท่ีจะเกิดข้ึนจากการวิจัย ตามกรอบแนวคิดการวิจัยน้ันได้อย่างมีเหตุผล สมมติฐานการวิจัยเป็นส่วน
ประกอบทีส่ �ำคญั ของกระบวนการค้นหาความรทู้ ่ีเป็นวทิ ยาศาสตร์ การต้งั สมมตฐิ านใช้วธิ กี ารของการอปุ มาน
ซึ่งเน้นการสังเกต และการอนุมานซึ่งเน้นการใช้เหตุผลในการวิเคราะห์สิ่งที่สังเกตได้ การท�ำวิจัยเรื่องหนึ่ง ๆ
จะมีสมมติฐานการวิจัยหรือไม่ขึ้นกับระเบียบวิธีวิจัย เช่น การวิจัยเชิงส�ำรวจอาจจะไม่มีการตั้งสมมติฐาน
การวิจัย

       จุดมุ่งหมายในการต้ังสมมติฐานการวิจัย
            1)	 เพอื่ เปน็ การเชอื่ มโยงทฤษฎแี ละขอ้ เทจ็ จรงิ ทส่ี งั เกตพบ เชน่ จากการศกึ ษาทฤษฎแี รงจงู ใจ

อาจน�ำมาสังเกตข้อเท็จจริงที่เกิดโดยตั้งสมมติฐานว่า “บุคลากรท่ีมีระดับแรงจูงใจสูงจะมีประสิทธิผล
การท�ำงานสูงกว่าบุคลากรที่มีแรงจูงใจระดับต่ํา” จะเห็นได้ว่าสมมติฐานวิจัยนั้นสามารถสังเกตได้จาก
ความเป็นจริงโดยผู้วิจัยเขียนให้สอดคล้องกับค�ำอธิบายของทฤษฎี

            2)	 เป็นการขยายขอบเขตของความรู้ เน่ืองจากเขียนสมมติฐานจากการอนุมานทฤษฎี
เพ่ือสรุปเป็นข้อค้นพบ เป็นการขยายขอบเขตความรู้

            3)	 เป็นเคร่ืองช่วยช้ีทิศทางของการวิจัยให้ชัดเจนข้ึน ประโยคสมมติฐานจะชี้แนวทาง
การออกแบบการวจิ ยั แนวทางการรวบรวมขอ้ มลู การวเิ คราะหข์ อ้ มลู ตลอดจนการแปลความขอ้ มลู ไดช้ ดั เจน

       ลักษณะของสมมติฐานท่ีดี
            1)	 ต้องระบุความสัมพันธ์ของตัวแปรท่ีคาดหมายล่วงหน้าว่าจะเกิดขึ้น โดยอยู่ในรูป

“แตกต่างกัน” “มากกว่า” “น้อยกว่า” “สัมพันธ์กัน” “ขึ้นอยู่กับ” เป็นต้น
            2)	 ความสัมพันธ์ที่กล่าวถึงสามารถทดสอบได้ น้ันคือตัวแปรที่ศึกษาต้องวัดได้ สังเกตได้

และความสัมพันธ์นั้นวิเคราะห์ได้ด้วยวิธีทางสถิติ
            3)	 ความสัมพันธ์ที่กล่าวถึงมีเหตุผลเหมาะสมสอดคล้องกับผลการวิจัยและทฤษฎีที่น�ำมา

เป็นกรอบความคิดในการวิจัย
            4)	 ประโยคที่เป็นสมมติฐานต้องแสดงความเป็นเหตุเป็นผลท่ีเหมาะสม น่าเช่ือถือได้

       4.	 การออกแบบการวิจัย (design the study) เป็นกิจกรรมที่นักวิจัยท�ำเมื่อมีกรอบแนวคิดใน
การวิจัยและสมมติฐานการวิจัยแล้ว แบบหรือแบบแผนการวิจัย (research design) ตามทัศนะของ
เคอร์ลิงเจอร์ (Kerlinger, 1986) และเคอร์ลิงเจอร์ และลี (Kerlinger & Lee, 2000) หมายถึง พิมพ์เขียว
หรือแผนการ (blueprint or plan) โครงสร้าง (structure) และยุทธวิธี (strategy) ในการท�ำวิจัย เพื่อให้
ไดค้ ำ� ตอบปญั หาวจิ ยั ทถ่ี กู ตอ้ ง การออกแบบการวจิ ยั จงึ เปน็ การทำ� งาน 3 เรอ่ื ง คอื การกำ� หนดแผนการทำ� งาน
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47