Page 44 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 44

1-34 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

ระดบั ชาตขิ องสำ� นกั ทดสอบแหง่ ชาติ คะแนนสอบ O-NET A-NET ฯลฯ ซง่ึ นกั ศกึ ษาจะไดศ้ กึ ษารายละเอยี ด
เพิ่มเติมเก่ียวกับการออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูลได้จากหน่วยท่ี 8

       8.	 การวิเคราะห์ข้อมูล (analyze the data) เป็นกิจกรรมที่ด�ำเนินการหลังจากเก็บรวบรวมข้อมูล
ได้ครบถ้วนตามจ�ำนวนที่ต้องการแล้ว การวิเคราะห์ข้อมูลในการวิจัยเชิงปริมาณต้องเลือกสถิติให้เหมาะสม
กับปัญหาวิจัยและข้อมูล โดยพิจารณาจาก

            1) 	วัตถุประสงค์การวิจัย (เพื่อการบรรยาย เพ่ือเปรียบเทียบ เพ่ือหาความสัมพันธ์ เพื่อสร้าง
ตัวแบบ)

            2) 	หน่วยการวิเคราะห์ (บุคคล กลุ่ม)
            3) 	ระดับการวัดค่าตัวแปร (ระดับกลุ่ม ระดับอันดับ ระดับอันตรภาค ระดับอัตราส่วน)
            4) 	การเลือกตัวอย่าง (ใช้การสุ่ม ไม่มีการสุ่ม)
       ส�ำหรับการวเิ คราะห์ขอ้ มูลเชิงคณุ ภาพ ใชเ้ ทคนคิ วธิ กี ารทีเ่ รียกว่า การจำ� แนกกลุ่มขอ้ มลู เชงิ คุณภาพ
ในขั้นตอนของการวิเคราะห์ข้อมูลนั้น ผู้วิจัยควรจะมีการวางแผนก่อนโดยพิจารณาจากวัตถุประสงค์ของการ
วิจัยว่า ในแต่ละวัตถุประสงค์ของการวิจัยจะท�ำการวิเคราะห์อย่างไร ควรจะจัดกระท�ำข้อมูลอย่างไร และใช้
ค่าสถิติใดช่วยในการหาค�ำตอบตามวัตถุประสงค์นั้น ซ่ึงนักศึกษาจะได้ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับ
การเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลได้จากหน่วยท่ี 10-13
       9. 	 การแปลความหมายผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู และการสรปุ อา้ งองิ เปน็ การนำ� ตวั เลขจากการวเิ คราะห์
ข้อมูลมาแปลความหมายว่าผลการวิเคราะห์เป็นอย่างไร ซ่ึงการแปลความหมายอาจจะใช้เกณฑ์หรือใช้
มาตรฐาน จึงจะท�ำให้แปลความหมายได้ถูกต้อง เช่น งานวิจัยเร่ืองหนึ่งได้ผลของค่าเฉลี่ยในการปฏิบัติงาน
ของครูเท่ากับ 3.56 ค่า 3.56 คงยังบอกอะไรไม่ได้ถ้าไม่น�ำไปเทียบกับเกณฑ์ เมื่อน�ำไปเทียบกับเกณฑ์แล้ว
อาจบอกได้ว่า ครูมีการปฏิบัติงานน้อย ปฏิบัติงานมาก ปฏิบัติงานมากที่สุด ในการแปลความหมายผลการ
วิเคราะห์ข้อมูลของการวิจัย ต้องแปลตามความเป็นจริงอย่างตรงไปตรงมา ไม่ควรใส่ความรู้สึกของผู้วิจัย
เข้าไปเกี่ยวข้อง ซึ่งนักศึกษาจะได้ศึกษารายละเอียดเพ่ิมเติมเกี่ยวกับการแปลความหมายผลการวิเคราะห์
ข้อมูลและการอ้างอิงได้จากหน่วยท่ี 10-13
       10.	 การสรุป อภิปรายผลและให้ข้อเสนอแนะ การสรุปผลการวิจัยจะสรุปตามวัตถุประสงค์ของ
การวิจัยท่ีผู้วิจัยต้องไว้ ควรสรุปเป็นข้อ ๆ ให้ครบตามวัตถุประสงค์ เม่ือผู้วิจัยสรุปผลการวิจัยครบถ้วนแล้ว
ผู้วิจัยต้องอภิปรายผลว่า ผลการวิจัยสอดคล้องหรือขัดแย้งกับสมมติฐานการวิจัยอย่างไร โดยมีทฤษฎีหรือ
ผลการวจิ ยั ในอดตี มาสนบั สนนุ อยา่ งเพยี งพอ พรอ้ มทงั้ ใหข้ อ้ เสนอแนะการนำ� ผลการวจิ ยั ไปใชป้ ระโยชนอ์ ยา่ ง
มีเหตุผล แนะน�ำส่ิงที่ควรปรับปรุง/แก้ไข/เพ่ิมเติมส�ำหรับการวิจัยครั้งต่อไป และข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัย
คร้ังตอ่ ไป เพ่ือขยายตอ่ ยอดความรทู้ ี่ค้นพบ เปน็ การขยายความรู้เรอ่ื งนน้ั ให้กว้างขวางต่อไป ซ่งึ จะเปน็ ปัญหา
วิจัยส�ำหรับผู้ท่ีสนใจศึกษาเรื่องนั้นต่อไป นักศึกษาจะได้ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการอภิปรายผล
การให้ข้อเสนอแนะได้จากหน่วยท่ี 15
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49