Page 123 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 123
การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง 2-113
การค้นคว้าวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง ตามข้ันตอนทั้ง 5 ข้ันตอน ท่ีเสนอข้างต้นนี้ ไม่จ�ำเป็นว่าจะต้อง
ดำ� เนนิ การเมอ่ื ตอ้ งการทำ� วจิ ยั นกั วจิ ยั อาจดำ� เนนิ การคน้ ควา้ วรรณกรรมในประเดน็ ทนี่ กั วจิ ยั สนใจโดยคน้ ควา้
ศกึ ษาอยา่ งสมาํ่ เสมอและตอ่ เนอ่ื ง สปั ดาหล์ ะเรอ่ื ง เมอื่ เวลาผา่ นไปหนง่ึ ปี นกั วจิ ยั จะไดบ้ ตั รบนั ทกึ จากรายงาน
วิจัยไม่ตํ่ากว่า 50 เร่ือง จัดเก็บสาระสรุปจากรายงานวิจัยในรูปบัตรบันทึก 50 ชุด ที่พร้อมจะใช้ประโยชน์ได้
ทนั ที การดำ� เนนิ งานดงั กลา่ วนี้ เรยี กวา่ การสรา้ งหอ้ งสมดุ สว่ นตวั ของนกั วจิ ยั (Cooper and Hedges, 1994,
2009) ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ต่อการผลิตผลงานวิชาการต่อไปในอนาคต
สรปุ
สาระส�ำคัญของกระบวนการทบทวนวรรณกรรม แยกได้เป็น 5 ข้ันตอน แต่ละตอนมีสาระสรุปได้
ดังน้ี
1. ข้ันการก�ำหนดวัตถุประสงค์ การทบทวนวรรณกรรมมีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ คือ 1) เพ่ือให้ได้
วรรณกรรมที่เก่ียวข้องกับเร่ืองที่จะวิจัยตามที่นักวิจัยต้องการ 2) เพ่ือศึกษาและสังเคราะห์สารสนเทศจาก
วรรณกรรมที่เก่ียวข้อง และ 3) เพ่ือให้นักวิจัยเกิดการเรียนรู้ สามารถใช้ประโยชน์ความรู้ในการท�ำวิจัยได้ดี
2. ขน้ั การระบวุ รรณกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งและแหลง่ วรรณกรรม มกี ารดำ� เนนิ งานแยกเปน็ ขน้ั การสบื คน้
คัดเลือกและจัดหาวรรณกรรม ข้ันการอ่านและจดบันทึกสาระจากวรรณกรรม และขั้นเตรียมการสังเคราะห์
วรรณกรรม
3. การสืบค้น คัดเลือกและจัดหาวรรณกรรม เม่ือมีวัตถุประสงค์ และระบุวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ในการทบทวนวรรณกรรมแล้ว งานข้ันต่อไป คือ กระบวนการจัดหาวรรณกรรมท่ีทันสมัยและเหมาะสมกับ
วตั ถปุ ระสงคข์ องการทบทวนวรรณกรรม สงิ่ ทน่ี กั วจิ ยั ทกุ คนตอ้ งมคี วามรกู้ อ่ น คอื ตอ้ งรจู้ กั แหลง่ วรรณกรรม
คือห้องสมุด และกลไกการค้นคืน (retrieve) วรรณกรรมทางอินเทอร์เน็ต รวมทั้งต้องรู้วิธีค้นหา เข้าถึง และ
ค้นคืนวรรณกรรมได้อย่างถูกต้องด้วย จากนั้นจึงด�ำเนินการตามกระบวนการจัดหาวรรณกรรม ซ่ึงแบ่งออก
เป็น 3 ด้าน คือ 1) การกำ� หนดค�ำค้น หรือคำ� ส�ำคัญ (keywords or descriptors) เน่ืองจากกลไกการสืบค้น
วรรณกรรมมีระบบจัดเก็บวรรณกรรมแยกเป็น 3 แบบ คือ (1) การจัดเก็บตามช่ือผู้แต่ง (2) การจัดเก็บตาม
ค�ำส�ำคญั (keywords) ในชื่อเรือ่ งวรรณกรรม และ (3) การจัดเก็บตามสาขาวชิ า ดังนัน้ การสบื คน้ วรรณกรรม
จึงอาจใช้ชื่อผู้แต่ง ใช้ค�ำส�ำคัญ หรือใช้สาขาวิชา เป็น ‘ค�ำค้น’ ในการสืบค้นวรรณกรรมได้ หรือใช้รูปแบบ
การวิจัยที่จะท�ำเป็นค�ำค้น ซึ่งช่วยให้นักวิจัยประหยัดเวลาในการค้นคืนเอกสารได้ด้วย เม่ือทราบข้อมูล
ลักษณะวรรณกรรม และค�ำค้นท่ีต้องการแล้ว งานขั้นต่อไป คือ 2) การระบวุ รรณกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งและแหลง่
วรรณกรรม แหล่งวรรณกรรมที่ส�ำคัญ คือ ห้องสมุด และแหล่งวรรณกรรมท่ีค้นคืนได้จากเว็บไซต์ (web
site) หรือฐานข้อมูล (database) และการใช้กลไกสืบค้น (search engine) ท่ีเป็นประโยชน์เพื่อค้นคืน
(retrieve) วรรณกรรมที่ต้องการ และ 3) การสบื คน้ คดั เลอื กและจดั หาวรรณกรรม ประกอบด้วยการด�ำเนิน
งาน 3 ขั้นตอน คือ (1) การสืบค้นวรรณกรรม ซ่ึงท�ำได้ 2 แบบ คือการสืบค้นด้วยมือ และการสืบค้นด้วย
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น Google Scholar, End Note, Read Cube, Mendeley และ Docear โดยมี
กระบวนการสืบค้น 3 ตอน คือ ตอนแรก-การก�ำหนดค�ำค้นเพื่อค้นคืนวรรณกรรม ตอนท่ีสอง-การสืบค้น