Page 127 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 127

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง 2-117

                   ตัวอย่างขอ้ ความการเสนอรายงานวรรณกรรมจากรายงานวจิ ัยทีด่ ี

    1 ❶Brain-based learning can be defined as an interdisciplinary answer to the question
    2 of “what is most effective way of the brain’s learning mechanism” (Jensen, 1998). ❷Caine and
    3 Caine (2002) define brain-based learning as “recognition of the brain’s codes for a meaningful
    4 learning and adjusting process in relation to those codes.” ❸Studies (Hari and Lounasmaa, 2000;
    5 Posner and Raichle, 1994) in the field of neurobiology have improved understanding of how the
    6 brain functions and how learning is formed. ➍Educators who work in collaboration with neuro-
    7 biologists integrat knowledge of the functions of the brain and adapt them to learning principles
    8 (Cross, 1999; Wortock, 2002). ❺Brain-based learning aims to enhance the learning potential and,
    9 in contrast to the traditional approaches and models, provides a teaching and learning framework
    10 for educators (Materna, 2000)

         หมายเหต:ุ รหสั ตวั เลข ❶-❺ แสดงรปู แบบการเสนอรายงานทแ่ี ตกตา่ งกนั (ดคู ำ� อธบิ ายทา้ ยตาราง)

          ท่มี า: Ozden, M. and Giltekin, M. (2008). The effects of brain-based learning on academic
          achievement and retention of knowledge in science course. Electronic Journal of Science
          Education, 12(1): 1-15. Retrieved May 15, 2009 from http://ejse.southwestern .edu/volume/
          v12n1/articles/ave-ozden.pdf.

       ค�ำอธิบาย ตัวอย่างข้อความตัดตอนมาจากบทความวิจัยของคณะนักวิจัย Ozden and Giltekin
(2008) ท่ีเสนอข้างต้น จัดว่าเป็นตัวอย่างท่ีดีมากในการเขียนรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ขอให้ผู้อ่าน
สังเกตว่าคณะนักวิจัยศึกษาวรรณกรรมรวม 7 เร่ือง เพื่อน�ำเสนอนิยามของค�ำว่า “การเรียนรู้ใช้สมองเป็น
ฐาน (brain-based learning) เพียงย่อหน้าเดียว การน�ำเสนอรายงานจากวรรณกรรมทั้ง 7 เร่ือง ใช้รูปแบบ
ทีแ่ ตกตา่ งกนั เลก็ น้อยท�ำให้ข้อความที่เสนอนา่ สนใจรวม 5 แบบ รปู แบบแรก (❶) คณะนักวิจัยรายงานนิยาม
ศัพท์ในบรรทัด 1-2 จากวรรณกรรมของ Jensen พิมพ์ปี ค.ศ. 1998 โดยคัดลอกข้อความทุกตัวอักษรใส่
ในเครื่องหมายค�ำพูด “what is most effective way of the brain’s learning mechanism” ซึ่งถูก
ต้องตามหลักการอ้างอิง รูปแบบที่สอง (❷) คณะนักวิจัยรายงานนิยามศัพท์บรรทัดที่ 2-4 จากวรรณกรรม
ของ Caine and Caine พิมพ์ปี ค.ศ. 2002 โดยการคัดลอกข้อความทุกตัวอักษรใส่ในเคร่ืองหมายค�ำพูด
เช่นเดียวกัน แต่การเสนอรายงานแตกต่างกันเล็กน้อย เพราะต้องการเน้นให้เห็นเด่นชัดว่านิยามศัพท์ของ
Caine and Caine ใหม่กว่านยิ ามศพั ทข์ อง Jensen จงึ ระบชุ อ่ื นกั วจิ ยั กอ่ นและใสป่ ีที่พิมพไ์ ว้ในวงเล็บ ทำ� ให้
เห็นความแตกต่างของปีที่พิมพ์วรรณกรรมสองเร่ืองต่างกันชัดเจนขึ้น รปู แบบทส่ี าม (❸) คณะนักวิจัยใช้การ
รายงานนยิ ามศัพทบ์ รรทดั ท่ี 4-5 โดยใชร้ ูปแบบท่เี นน้ ความสำ� คญั ของวรรณกรรม 2 ด้าน ดา้ นแรก เน้นความ
ส�ำคัญของวรรณกรรมสาขาวิชาประสาทชีววิทยา (neurobiology) ซ่ึงเป็นสาขาวิชาที่อธิบายเรื่องของสมองดี
กวา่ สาขาวชิ าการศกึ ษา ในวรรณกรรมสองเรอื่ งแรก และดา้ นทส่ี อง เนน้ ความสำ� คญั การสรปุ สาระจากรายงาน
วิจัยสองเร่ืองที่คล้ายคลึงกัน ที่ได้จากวรรณกรรมของ Hari and Lounasmaa พิมพ์ปี ค.ศ. 2000 และ
Posner and Raichle พิมพ์ปี ค.ศ. 1994 อน่ึงผู้อ่านควรสังเกตด้วยว่าการอ้างอิงวรรณกรรมตั้งแต่สองเรื่อง
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132