Page 132 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 132
2-122 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
ตัวอยา่ ง 2.5 บตั รบนั ทึกทฤษฎีท่ใี ช้ กรอบแนวคิด และสมมตฐิ านวจิ ัย (บัตรใบที่ 3)
009/3
ทฤษฎแี ละหลักการ
หลักการเรียนรู้ใช้สมองเป็นฐาน (brain-based learning = BBL) อ้างอิงจากเอกสารของ
Caine and Caine (2001) สรุปได้ว่า 1) สมองเป็นกลไกประมวลผลคู่ขนานกับการเรียนรู้ 2) การ
เรียนรู้ต้องใช้อวัยวะทุกส่วน 3) ความอยากรู้มีมาตั้งแต่เกิด 4) การหาความหมายเกิดข้ึนจากการสร้าง
แบบแผน 5) อารมณ์มีความส�ำคัญต่อการสร้างแบบแผน 6) สมองทุกส่วนรับรู้และสร้างความรู้ทั้งส่วน
ย่อยและส่วนรวมพร้อมกัน 7) การเรียนรู้เกิดขึ้นเม่ือผู้เรียนมีความสนใจที่จุดส�ำคัญ และมีความสนใจ
ในรายละเอียด 8) การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่รวมทั้งแบบจิตส�ำนึกและจิตใต้ส�ำนึก 9) ผู้เรียนมีระบบ
ความจ�ำอย่างน้อย 2 ประเภท คือ การเรียนรู้เร่ืองท่ีว่าง และการเรียนรู้จากการท่องจ�ำ 10) สมองเข้าใจ
และจ�ำได้ดีที่สุดเม่ือข้อเท็จจริงและทักษะท่ีต้องเรียนรู้เกิดข้ึนตามสภาพธรรมชาติฝังอยู่ในความจ�ำ
11) การเรียนรู้เพ่ิมมากขึ้นเม่ือผู้เรียนรู้สึกถูกท้าทาย มีอารมณ์ ใส่ใจในส่ิงท่ีเรียน และบรรยากาศ
การเรียน การบังคับขู่เข็ญเป็นอุปสรรคของการเรียนรู้ และ 12) สมองของผู้เรียนมีลักษณะเฉพาะ
แตกต่างกัน
ห้องเรียนส�ำหรับ BBL ต้องเป็นห้องเรียนที่เป็นมิตรกับสมอง (brain friendly classroom)
ให้สมองได้ท�ำหน้าท่ีสมบูรณ์ และผู้เรียนเกิดอารมณ์ท้าทายความอยากรู้อยากเห็น เกิดความสนใจ
เรียนรู้โดยไม่ต้องบังคับ ส่วนกระบวนการเรียนรู้ ต้องเกิดขึ้นเป็นขั้นตอน เร่ิมจาก การสนใจแน่วแน่
ต่อส่ิงเร้า การตื่นตัวแบบผ่อนคลาย และการประมวลผลความรู้ การจัดการเรียนการสอน ควรต้องเริ่ม
ด้วยการน�ำเข้าสู่บทเรียนท่ีมีความหมายดึงดูดความสนใจ ต่อด้วยการกระตุ้นให้ผู้เรียนได้ใช้อวัยวะ
ทุกส่วนแสวงหาความรู้ สนุกเพลิดเพลิน และม่ันใจท่ีจะค้นหา รวมทั้งการคิดต้ังค�ำถามหรือการคิด
หลากหลายในการแสวงหาอันน�ำไปสู่การเรียนรู้ท่ีมีพื้นฐานจากความเข้าใจมิใช่การจดจ�ำ
Forgaty (2002) สรุปเรื่อง BBL ในวิชาวิทยาศาสตร์ว่า บทเรียนวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่มี
ศัพท์เฉพาะมากและไม่เก่ียวข้องกับชีวิตประจ�ำวัน ท�ำให้ผู้เรียนวิตกกังวล การเรียนรู้วิทยาศาสตร์แบบ
BBL จึงเน้นให้ผู้เรียนสนใจธรรมชาติก่อน เช่น ระบบนิเวศ การเติบโตของพืชและสัตว์ การเคลื่อนท่ี
ของวัตถุ ครูต้องจัดบรรยากาศห้องเรียนท้าทายการส�ำรวจ เช่น มีป้ายนิทรรศการ ตู้ปลา โมเดลจ�ำลอง
สื่อคอมพิวเตอร์และส่ืออื่น ๆ
Holloway (2000) เสนอว่า สภาพห้องเรียนที่เหมาะสมท�ำให้ผู้เรียนได้ประสบการณ์ตรง เกิด
ความเข้าใจชัดเจนและเรียนรู้จากการรู้วิธีคิด รวมท้ังรับรู้ว่าการรู้วิธีคิดช่วยให้เกิดการเรียนรู้
กรอบแนวคดิ
ไม่มี
สมมตฐิ านวิจยั
กลมุ่ ทดลองทเี่ รยี นรใู้ ชส้ มองเปน็ ฐาน มคี ะแนนสอบและความคงทนสงู กวา่ กลมุ่ ควบคมุ และ
คะแนนสอบจากการวดั ทง้ั สามครงั้ มคี า่ เฉลย่ี แตกตา่ งกนั โดยมคี ะแนนเฉลยี่ กอ่ นทดลองตาํ่ สดุ คะแนน
เฉลี่ยหลังการทดลองสูงสุด และมีคะแนนเฉล่ียหลังสิ้นสุดการทดลองสามสัปดาห์ลดลงเล็กน้อย