Page 135 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 135

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง 2-125

ควรบนั ทกึ สาระจากรายงานด้วยว่า ไดค้ วบคุมความแตกต่างระหว่างผู้สอนอย่างไร แตใ่ นตวั อย่างนไ้ี มม่ กี าร
จดบนั ทึกไว้

       สาระด้านตัวแปรตามและเครื่องมือมีน้อย ขาดนิยามตัวแปรและรายละเอียดเคร่ืองมือ แต่มีการจด
บันทึกคุณภาพด้านความเที่ยงของเคร่ืองมือ ผู้บันทึกรับรู้ถึงจุดอ่อนของรายงาน และระบุในวงเล็บว่า “ไม่มี
รายงาน” ส่วนสาระด้านการรวบรวมข้อมูลมีรายละเอียดดีพอใช้ และด้านการวิเคราะห์ข้อมูลมีการระบุสถิติ
ทดสอบที่ใช้ คือ t-test และ ANOVA ที่อธิบายชัดเจนว่าทดสอบเปรียบเทียบค่าเฉล่ีย 2 แบบ

       อนง่ึ หากนกั ศกึ ษาหรอื ผอู้ า่ นคน้ คนื และได้รายงานวิจัยท่ดี ี สมบูรณพ์ ร้อมทุกดา้ นมาศกึ ษา นักศึกษา
หรือผอู้ ่านจะได้รายละเอียดจากวิธีด�ำเนินการวิจยั ทชี่ ดั เจน ท้งั แบบแผนวจิ ยั ประชากรและกลุม่ ตวั อย่าง การ
กำ� หนดขนาดกลมุ่ ตวั อยา่ งและวธิ กี ารเลอื กกลมุ่ ตวั อยา่ ง ตวั แปรและนยิ าม เครอ่ื งมอื วจิ ยั และการสรา้ งเครอ่ื ง
มือวิจัย รวมทั้งรายงานคุณภาพเครื่องมือ การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลด้วย และนักศึกษาหรือผู้อ่าน
ย่อมได้เรียนรู้และได้สารสนเทศจากงานวิจัยที่สามารถน�ำไปใช้ประโยชน์ในการออกแบบ และการด�ำเนินการ
วิจัยของตนต่อไปได้เป็นอย่างดี นอกจากน้ีรายงานวิจัยบางฉบับนักวิจัยยังให้เคร่ืองมือวิจัยทั้งฉบับไว้ด้วย
นกั ศกึ ษาหรอื ผอู้ า่ นควรทำ� สำ� เนาเกบ็ ไวแ้ ละสามารถนำ� เครอ่ื งมอื วจิ ยั มาใชใ้ นการปรบั ปรงุ (modify) เครอ่ื งมอื
วิจัยให้เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้ในอนาคต อันเป็นประโยชน์ในการสร้างห้องสมุดส่วนตัวของ
นักศึกษาหรือผู้อ่านน่ันเอง

                        ตัวอย่าง 2.7 บัตรบนั ทึก “ผลการวจิ ัย” (บตั รใบท่ี 5)
                                                                                009/5

     ผลการวิเคราะหข์ ้อมลู เบ้ืองต้น
            ผลการแจกแจงความถี่ของนักเรียนในกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม พบว่าสัดส่วนนักเรียน

     หญิงเท่ากับ 54.6% และนักเรียนที่เรียนพิเศษเท่ากับ 22.8% การแจกแจงความถี่แต่ละระดับของ
     รายได้ การศึกษาบิดา และการศึกษามารดาของนักเรียนท้ังสองกลุ่มใกล้เคียงกัน ผลการทดสอบ
     ความแตกต่างค่าเฉลี่ยการวัดก่อนของกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมพบว่าแตกต่างกัน (t = 0.43, df =
     42) อย่างไม่มีนัยส�ำคัญ
     ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

            ผลการวิเคราะห์ด้วย SPSS พบว่า ค่าเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิและความคงทนทางวิชาการ ของกลุ่ม
     ทดลอง และกลุ่มควบคุมแตกต่างกันอย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (t = 2.65, df = 42, p <
     .05; t = 3.25, df = 42, p < .05) และผลการทดสอบ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นไปตามสมมติฐาน
     วิจัย
     ข้อสังเกต 1. การทดลองคร้ังนี้ไม่มีการจัดนักเรียนเข้ากลุ่มโดยการสุ่ม นักวิจัยน�ำเสนอผลการทดสอบ
     ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย pretest เพื่อแสดงหลักฐานว่าก่อนทดลอง สภาพกลุ่มทดลองและกลุ่ม
     ควบคุมคล้ายกัน
     	 2. นักวิจัยไม่รายงานค่า p แต่ระบุว่า p < .05 การรายงานค่า t จากตารางว่า t = 2.021 ไม่
     จ�ำเป็น
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140