Page 137 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 137

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง 2-127

       ค�ำอธิบาย บัตรบันทึกรหัส 009/6 ซ่ึงเป็นบัตรบันทึกใบสุดท้ายของชุดบัตรบันทึกจากรายงานวิจัย
เร่ืองที่ 009 มีการบันทึกสาระที่ชัดเจนว่า นักวิจัยมิได้ให้ความส�ำคัญกับการอภิปรายผลการวิจัย เป็นผลให้
ขอ้ เสนอแนะของนกั วจิ ยั ไมม่ อี ะไรเชอื่ มโยงกบั ผลการวจิ ยั หากนกั วจิ ยั อภปิ รายวา่ หลกั การเรยี นรโู้ ดยใชส้ มอง
เป็นฐานนอกจากจะช่วยเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแล้ว ยังช่วยเพิ่มเจตคติต่อการเรียน เจตคติต่อการ
ท�ำงานกลุ่ม ทักษะการคิด ฯลฯ โดยอ้างอิงวรรณกรรม นักวิจัยจึงจะน�ำผลการอภิปรายน้ีไปเขียนข้อเสนอ
แนะได้ มิใช่เขียนข้อเสนอแนะลอย ๆ

       ส่วนในการให้ข้อเสนอแนะเพ่ือการวิจัยต่อไป มีการบันทึกว่า “ควรมีการวิจัยกับวิชาอื่น ๆ และ
นักเรยี นระดบั ช้นั อืน่ ๆ” เป็นข้อเสนอแนะท่ีนกั วจิ ัยเสนอโดยไมม่ ผี ลการวิจัยรองรบั เชน่ เดียวกัน หากนักวิจยั
ได้ศึกษารายงานวิจัยในระดับชั้นอื่น และวิชาอ่ืน แล้วอภิปรายว่าผลการวิจัยในวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับเกรด
5 ของนักวิจัยแตกต่างจากรายงานวิจัยในวิชาอ่ืน และระดับชั้นอื่น จึงเสนอเป็นข้อเสนอแนะในการท�ำวิจัย
ต่อได้ นอกจากนี้ส่ิงทน่ี กั วจิ ยั ไมไ่ ด้ท�ำ คือ การอภปิ รายถึงขอ้ จำ� กัดในการวจิ ยั (limitation) หรือจดุ อ่อน ใน
ทน่ี ี้ คอื จดุ ออ่ นดา้ นการจดั กลมุ่ ทดลอง และจดุ ออ่ นดา้ นความแตกตา่ งระหวา่ งผสู้ อน แลว้ จงึ นำ� เสนอแนวทาง
การวิจยั ต่อไปทม่ี ีการปรบั แกจ้ ดุ ออ่ นดงั กลา่ ว จึงจะไดข้ อ้ เสนอแนะทดี่ ี

       2.2 สาระจากวรรณกรรมประเภทอื่นที่ไม่ใช่รายงานวิจัย โดยท่ีสาระที่ได้จากวรรณกรรมที่ไม่ใช่
รายงานวจิ ยั มีลกั ษณะแตกตา่ งกนั ตามจดุ มุ่งหมายของการศกึ ษาวรรณกรรม และเนอ้ื หาสาระในวรรณกรรม
ดังน้ันจงึ ไม่สามารถระบุประเดน็ ส�ำหรบั การจดบันทกึ ตามแบบทไี่ ด้ระบใุ นการจดบันทกึ สาระจากรายงานวจิ ัย
ได้ ในที่นี้จึงแสดงได้แต่เพียงหลักการกว้าง ๆ ในการจดบันทึกสาระ 2 ประการ คือ 1) ควรจดบันทึกสาระ
แยกเป็นประเด็นตามจุดมุ่งหมายท่ีต้องการ และ 2) ต้องจดบันทึกรายการอ้างอิงทุกคร้ังเพ่ือจะได้น�ำไปเขียน
รายงานอย่างถูกต้อง ทั้งนี้อาจออกแบบการจดบัตรบันทึกเป็นชุด บัตรใบแรกเป็นบัตรบรรณานุกรม บัตรต่อ
ไปเป็นบัตรบันทึกใบที่ 2, 3, 4, … ตามประเด็นท่ีนักวิจัยต้องการ สาระในบัตรบันทึกแต่ละใบโดยทั่วไป
ประกอบด้วยสาระท่ีให้รายละเอียดว่า “ใคร” “กล่าว/เสนอ/อธิบาย” “อะไร” “เม่ือไร” “ท่ีไหน” “ท�ำไม” และ
“อย่างไร” (who said what, when, where, why and how) ดังตัวอย่างชุดของบัตรบันทึก เร่ืองการ
เรียนรู้โดยใช้สมองเป็นฐาน จากหนังสือของ Forgarty (2002) ดังนี้

                 ตัวอยา่ ง 2.9 บตั รบรรณานกุ รมหนงั สือท่ีควรนำ� ไปใช้ในการวิจยั ตอ่ ไป

                                                                               T001/1
             Fogarty, R. (2002). Brain Compatible Classrooms. (2nd Edition). Glenview, IL:
     Pearson Professional Development.
   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142