Page 125 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 125

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง 2-115

       อนง่ึ เปน็ ทนี่ า่ สงั เกตวา่ นกั วจิ ยั อาจดำ� เนนิ การคน้ ควา้ วรรณกรรมในประเดน็ ทนี่ กั วจิ ยั สนใจโดยดำ� เนนิ
การอย่างสมํ่าเสมอและต่อเนื่องตามข้ันตอนทั้ง 5 ข้ันตอน ท่ีเสนอข้างต้นน้ี ได้ตลอดเวลา หากนักวิจัยด�ำเนิน
การสืบค้นวรรณกรรม-อ่านและจดบันทึกรายงานวิจัย สัปดาห์ละเร่ือง เมื่อเวลาผ่านไปหน่ึงปี นักวิจัยจะได้
บัตรบันทึกจากรายงานวิจัยไม่ตํ่ากว่า 50 เร่ือง ท่ีพร้อมจะใช้ประโยชน์ได้ทันที เป็นการสร้างห้องสมุดส่วนตัว
ของนักวิจัย ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการผลิตผลงานวิจัยของนักวิจัยต่อไปในอนาคตด้วย

              หลงั จากศกึ ษาเนอื้ หาสาระเรื่องที่ 2.2.2 แล้ว โปรดปฏบิ ัติกจิ กรรม 2.2.2
                      ในแนวการศกึ ษาหนว่ ยท่ี 2 ตอนที่ 2.2 เรอื่ งที่ 2.2.2

เรื่องที่ 2.2.3 ต ัวอย่างกระบวนการทบทวนวรรณกรรมการวัดและ
          ประเมินผลการศกึ ษา

       เมื่อพิจารณาข้ันตอนการค้นคว้าวรรณกรรมที่เก่ียวข้องท้ัง 5 ขั้นตอน ที่น�ำเสนอในเร่ืองท่ี 2.2.2 จะ
เห็นได้ว่าการด�ำเนินงานข้ันท่ี 1 การก�ำหนดวัตถุประสงค์ในการค้นคว้าวรรณกรรม มีรูปแบบค่อนข้างชัดเจน
การด�ำเนินงานข้ันที่ 2 การระบุวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องและแหล่งวรรณกรรม และขั้นที่ 3 การสืบค้น คัดเลือก
และจัดหาวรรณกรรม เป็นกิจกรรมท่ีนักวิจัยส่วนใหญ่คุ้นเคย ประกอบกับมีบริการให้ความช่วยเหลือ
แนะน�ำตลอดเวลา ท�ำให้นักวิจัยไม่มีปัญหาในการด�ำเนินงาน ส่วนการด�ำเนินงานข้ันที่ 5 การเตรียมการและ
การสังเคราะห์วรรณกรรม นักวิจัยสามารถด�ำเนินการได้เม่ือมีผลงานขั้นที่ 4 การอ่านและจดบันทึกสาระจาก
วรรณกรรมท่ีสมบูรณ์ แต่ในการด�ำเนินงานขั้นที่ 4 การจดบันทึกสาระจากวรรณกรรม เป็นกิจกรรมที่นักวิจัย
ส่วนใหญ่ไม่คุ้นเคย และเป็นงานที่ยากเม่ือเปรียบเทียบกับการทบทวนวรรณกรรมด้านอ่ืน ในท่ีนี้น�ำเสนอ
เฉพาะตัวอย่างการจดบันทึกสาระจากวรรณกรรมที่เก่ียวข้องในการวิจัยเท่านั้น เพราะหลักการที่ใช้ในการ
วิจัย และการวัดและประเมินผลการศึกษาเป็นหลักเดียวกัน โดยเสนอแยกเป็น 2 ตอน คือ วิธีการจดบันทึก
สาระ และลักษณะของสาระที่จดบันทึก ดังต่อไปน้ี

1. 	วธิ ีการจดบันทึกสาระ

       การจดบนั ทกึ สาระทีไ่ ด้จากวรรณกรรม มหี ลกั การสำ� คัญวา่ ต้องจดบันทกึ สาระจากวรรณกรรมตาม
ความเข้าใจด้วยภาษาและส�ำนวนของตนเอง ไม่ท�ำผิดจรรยาบรรณนักวิจัยด้านการลอกเลียนงานผู้อื่น (pla-
giarism) ซึ่ง Council of Writing Program Administrators (WPA) (2003); Webster’s Ninth New
Collegiate Dictionary (1991) เรียกว่าเป็นโจรกรรมทางปัญญา (intellectual theft) หมายถึง การขโมย
   120   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130