Page 183 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 183
การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2-173
ประโยชน์ของการวิจยั
ผลการศกึ ษาครงั้ นจ้ี ะไดอ้ งคค์ วามรทู้ เี่ ปน็ ประโยชนใ์ นเชงิ นโยบาย เพอ่ื ใหแ้ นวทางในการพฒั นา AQ
และบุคลิกภาพห้าองค์ประกอบของนักเรียน ซึ่งจะช่วยสร้างเสริมแรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษของ
นักเรียน อันจะส่งผลต่อสัมฤทธิผลทางการเรียนภาษาอังกฤษได้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพที่เป็น
รูปธรรม และเป็นประโยชน์ต่อการวิจัยต่อยอดขยายผลส�ำหรับครู อาจารย์ นิสิตนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
หรือผู้ที่สนใจต่อไป
เอกสารอ้างอิง
กิตติ ประเสริฐสุข. (2555). ASEAN Insight: ทักษะภาษาอังกฤษกับอาเซียน. กรุงเทพฯ: กรุงเทพธุรกิจ.
ณภัทร วุฒิวงศา และกิ่งแก้ว ทรัพย์พระวงศ์. (2556). อิทธิพลของแรงจูงใจ และการเห็นคุณค่าในตนเองต่อ
ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของนักศึกษาชั้นปีท่ี 1 มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. วารสารวิธี
วิทยาการวิจัย, 26(2), 131-144.
ธีระศักด์ิ ก�ำบรรณารักษ์. (2548). AQ อึดเกินพิกัด. กรุงเทพฯ: บิสคิต.
ศศิวิมน เพชรอาวุธ. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะบุคลิกภาพเชิงรุก แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และการ
รับรู้ความส�ำเร็จในอาชีพ: กรณีศึกษาผู้แทนยาในบริษัทยาแห่งหน่ึง (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหา-
บัณฑิต). ภาควิชาจิตวิทยา สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์.
สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน). (2555). ประกาศผลการสอบแบบทดสอบทางการ
ศึกษาแห่งชาติข้ันพื้นฐาน หรือโอเน็ต. เข้าถึงจาก http://www.niets.or.th
ส�ำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. (2556). ภาษาอังกฤษกับอาเซียน. เข้าถึงจาก http://www.nwvoc.
ac.th/asean/Asean_English.html
Ambedkar, V. (2012). Achievement motivation and achievement in English of higher second-
ary students. Golden Research Thoughts, 2(6), 1-5.
Costa, P. T., Jr., & McCrae, R. R. (1992). Revised NEO personality inventory (NEO PI-R) and
NEO five-factor inventory (NEO-FFI). Odessa, FL: Psychological Assessment
Resources. GRI_cornista-macasaet.pdf
Cornista, G. A. L., & Macasaet, C. J. A. (2013). Adversity quotient and achievement motiva-
tion of selected third year and fourth year psychology students of De La Salle Lipa.
Retrieved from http://www.peaklearning.com/documents/ PEAK_
Clark, H. M., & Schroth, C. A. (2009). Examining relationships between academic motivation
and personality among college students. Learning and Individual Differences, 20(1),
19-24.
De Feyter, T., Caers, R., Vigna, C., & Berings, D. (2012). Unraveling the impact of the Big
five personality traits on academic performance: The moderating and mediating
effects of self-efficacy and academic motivation. Learning and Individual differ-
ences, 22(4), 439-448.