Page 178 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 178
2-168 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
ค�ำสำ� คัญ: บ คุ ลกิ ภาพหา้ องคป์ ระกอบ แรงจงู ใจในการเรยี นภาษาองั กฤษ ความสามารถในการเผชญิ และฟนั ฝา่
อุปสรรค ตัวแปรส่งผ่าน นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย
บทนำ�
กระแสการเปล่ียนแปลงของโลกปัจจุบันท�ำให้หน่วยงานทุกภาคส่วนต่างเล็งเห็นบทบาทของการใช้
ภาษาอังกฤษที่จะทวีความส�ำคัญมากข้ึน เพราะนอกจากภาษาอังกฤษจะเป็นภาษาสากลท่ีใช้ส่ือสารกันอย่าง
แพร่หลายในระดับนานาชาติท่ัวทุกวงการแล้ว ประเทศไทยยังต้องเตรียมคนให้พร้อมเพื่อรองรับการเข้าร่วม
เปน็ สมาชกิ ประชาคมอาเซยี น (ASEAN Community) ในอนาคตอนั ใกลน้ ด้ี ว้ ย เพราะตามบญั ญตั ขิ องกฎบตั ร
อาเซียนระบุไว้ว่าภาษาที่ใช้ในการท�ำงานของอาเซียน คือ ภาษาอังกฤษ (ส�ำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา,
2556) ดังน้ัน การเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยควรมีประสิทธิผลมากกว่าในอดีตท่ีผ่านมา อย่างน้อย
ควรทัดเทียมกับประเทศอ่ืนในประชาคมอาเซียน เพ่ือประโยชน์ทางการศึกษาและการประกอบอาชีพส�ำหรับ
ปัจจุบันและอนาคต
จากสภาพความเป็นจริงทุกวันนี้ ผลการเรียนภาษาอังกฤษในบริบทการศึกษาไทยยังมีประสิทธิภาพ
ต่ํา เพราะผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (Ordinary National Educational Test:
O-NET) ปรากฏว่าค่าเฉลี่ยคะแนนความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษของนักเรียนไทยช้ันมัธยมศึกษาปีที่
6 ทั่วประเทศ ในปีการศึกษา 2554 และ 2555 เท่ากับ 19.22 คะแนน และ 22.13 คะแนนเท่าน้ัน จากคะแนน
เต็ม 100 คะแนน (สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ, 2555) ผลการศึกษาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษของ
IMD World Competitive Yearbook 2011 พบว่า ในกลุ่มประเทศอาเซียน ไทยยังเป็นรองสิงคโปร์
ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ในขณะท่ีการจัดอันดับของ English Proficiency Index (EFI) ไทยอยู่
ในกลุ่มประเทศที่มีทักษะภาษาอังกฤษใน “ระดับตํ่ามาก” และเม่ือเปรียบเทียบคะแนน TOEFL ของบัณฑิต
จากกลมุ่ ประเทศอาเซยี นดว้ ยกนั บณั ฑติ ไทยยงั มคี ะแนนเฉลย่ี ตาํ่ กวา่ 500 คะแนน เปน็ ระดบั เดยี วกบั บณั ฑติ
จากประเทศลาว ในขณะที่สิงคโปร์กับฟิลิปปินส์ได้คะแนนเฉล่ียมากกว่า 550 คะแนน ส่วนมาเลเซีย
อินโดนีเซีย พม่า เวียดนาม และกัมพูชาได้คะแนนเฉลี่ยมากกว่า 500 คะแนน (กิตติ ประเสริฐสุข, 2555)
แสดงให้เห็นว่า นักเรียนและนักศึกษาไทยส่วนใหญ่ยังด้อยคุณภาพเรื่องการใช้ภาษาอังกฤษ ซ่ึงสะท้อนถึง
ประสิทธิผลในการเรียนภาษาอังกฤษของเยาวชนไทยว่ายังล้มเหลว
อย่างไรก็ดี ความส�ำเร็จในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียน นักศึกษา ส่วนหน่ึงเป็นผลจากการมี
แรงจูงใจเป็นปัจจัยส�ำคัญในการเรียนรู้ ซ่ึงเกิดขึ้นได้ทั้งแรงจูงใจภายใน (intrinsic motivation) หมายถึง
ความคิด หรือความรู้สึกที่กระตือรือร้นเพื่อเรียนรู้ และท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมาย ในขณะท่ีรางวัล
การได้รับการยอมรับ การยกย่องชมเชย และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ เป็นแรงจูงใจภายนอก (extrinsic
motivation) ทส่ี ามารถกระตนุ้ ใหเ้ กดิ พฤตกิ รรมการเรยี นไดเ้ หมอื นกนั (Moneta & Spada, 2009; Tamimi
& Shuib, 2009) ผลการวิจัยกบั นกั ศกึ ษาชาติต่าง ๆ ทเี่ รยี นภาษาองั กฤษ ต่างพบวา่ แรงจงู ใจเป็นปัจจัยสำ� คญั
และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติกับสัมฤทธิผลทางการเรียน (Howchatturat & Jaturapitak-
kul, 2011; Ibrahim-Humaida, 2012) และผลการศึกษาสนับสนุนว่าแรงจูงใจมีอ�ำนาจในการท�ำนายความ
สามารถในการเรียนภาษาต่างประเทศได้อย่างมีนัยส�ำคัญด้วย (Hernandez, 2008)