Page 173 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 173

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง 2-163

เฉพาะกิจ (specific exploration) ต่อมาในช่วงปี ค.ศ. 1976–2010 Spielberger เร่ิมต้นศึกษาตัวแปร ความ
ใฝ่เรียนรู้ต้ังแต่ปี ค.ศ. 1976 โดยพัฒนาต่อยอดแนวคิดของ Berlyne จนมีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซ้ึง
จงึ ไดว้ ิจยั และพฒั นามาตรวดั ความใฝ่เรยี นรู้ และจัดท�ำคู่มอื (manual) การน�ำมาตรวดั ความใฝเ่ รียนรู้ ไปใช้
ประโยชน์ในช่วงปี ค.ศ. 1983-1989 ดังผลงานของ Spielberger (1983, 1988 และ 1989) และ Spiel-
berger & Reheiser (1999) ในการพัฒนาและปรับปรุงมาตรวัดความใฝ่เรียนรู้รวม 3 ชุด คือ ชุดแรก
State-Trait Anxiety Inventory: STAI (Form Y) ชุดท่ี 2 State-Trait Anger Expression Inventory
(STAXI) และชุดท่ี 3 State-Trait Anxiety Inventory

            ชดุ แรก มาตรแบบสำ� รวจความวิตกกังวลตามสภาวะ และคุณลักษณะ (State, Trait, Anxiety
Inventories - STAI-1) เป็นมาตรแบบส�ำรวจเพ่ือวัดความวิตกกังวลตามสภาวะทางอารมณ์ และตาม
คุณลกั ษณะทางบุคลกิ ภาพ มาตรแบบส�ำรวจชดุ แรกมีข้อความรวม 40 ข้อ แยกเปน็ 2 ตอน ตอนแรก ก�ำหนด
ให้ผู้ตอบมาตรวัดเพื่อประเมินความระดับความเข้ม (intensity) ของสภาวะ (state) ความรู้สึกวิตกกังวล
(S-Anxiety) เช่น ข้อความระบุว่า “ฉันรู้สึกตื่นเต้นตกใจง่าย (nervous)” โดยมีตัวเลือกในการประเมินแบบ
มาตรประเมินค่า 4 ระดับ คือ 1) ไม่เคยรู้สึกเลย (not at all) 2) รู้สึกบางครั้ง (somewhat) 3) รู้สึกปานกลาง
(moderate) และ 4) รู้สึกมาก (very much) และตอนท่ีสอง ก�ำหนดให้ผู้ตอบมาตรวัดเพ่ือประเมินตามระดับ
ความถ่ี (frequency) ของคุณลักษณะ (trait) ความรู้สึกวิตกกังวล (T-Anxiety) ตามข้อความเดียวกันกับ
ตอนแรก โดยมีตัวเลือกในการประเมินแบบมาตรประเมินค่า 4 ระดับ คือ 1) เกือบไม่เคยรู้สึกเลย (almost
never) 2) รู้สึกบางครั้ง (sometimes) 3) รู้สึกบ่อย (often) และ 4) เกือบรู้สึกตลอดเวลา (alomost always)
และเม่ือรวบรวมข้อมูลได้แล้ว มีการวิเคราะห์ตรวจสอบความเท่ียง (reliability) ด้วยค่าสัมประสิทธ์ิความ
เที่ยงของ Cronbach (Cronbach’s alpha reliability coefficients) และการตรวจสอบความตรงด้วยการ
วิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (confirmatory factor analysis)

            ผลการพัฒนาระยะแรก พบว่าการใช้ข้อความเดียวกันในการประเมินสภาวะ (state) ความ
รู้สึกวิตกกังวล (S-Anxiety) และประเมินคุณลักษณะ (trait) ความรู้สึกวิตกกังวล (T-Anxiety) แต่ใช้ตัว
เลอื กตา่ งกนั นน้ั มขี อ้ ความบางขอ้ ทผี่ รู้ บั การประเมนิ ระบตุ วั เลอื กทไ่ี มส่ ามารถบอกความแตกตา่ งระหวา่ งความ
รู้สึกวิตกกังวลได้ เช่น ข้อความ “ฉันเป็นทุกข์เป็นร้อนมากไปหน่อย (I worry too much)” มีผลการประเมิน
จากผู้รับการประเมินค่อนข้างคงท่ี แต่ข้อความ “ฉันรู้สึกผิดหวัง (I feel upset)” มีผลการประเมินจากผู้รับ
การประเมินแตกต่างกันมาก และได้มีการปรับปรุงมาตรวัด โดยแยกข้อความแต่ละชุดไม่ให้เหมือนกันหมด
ทุกข้อ แต่มีความหมายนัยยะเดียวกัน ท�ำให้ผลการประเมินท้ังสองด้านยังคงสัมพันธ์กัน ผลการปรับปรุงได้
มาตรชุดแรก STAI (Form X) State and Trait Anxiety Scales ที่ยังมีปัญหาข้อความบางข้อ จึงมีการ
ปรับข้อความใหม่อีกครั้ง ได้เป็น STAI (Form Y) State and Trait Anxiety Scales ซ่ึงเป็นมาตรส�ำรวจ
เพ่ือวัดความวิตกกังวลตามสภาวะ และคุณลักษณะที่ใช้จริง

            ชุดที่สอง มาตรแบบส�ำรวจการแสดงออกด้านความโกรธ (State-Trait Anger Expression
Inventory - STAXI-2) แบบส�ำรวจการแสดงความรู้สึกด้านบุคลิกภาพตามสภาวะ-คุณลักษณะ (State-Trait
Personality Inventory - STPI) เพื่อประเมินความวิตกกังวล ความโกรธ ความซึมเศร้า ความใฝ่เรียนรู้ และ
ส่วนประกอบของสภาวะทางอารมณ์และคุณลักษณะทางบุคลิกภาพ
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178