Page 171 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 171
การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง 2-161
เน่ืองจากปัญหาด้าน การออกแบบโครงการและการปฏิบัติตามแบบแผนท่ีสถานศึกษาก�ำหนดมีคุณภาพต่ํา
กว่ามาตรฐาน มิใช่ปัญหาจากความบกพร่องของวิธีการเรียนรู้ดิจิทัล สถาบันการศึกษาท่ีเข้าร่วมโครงการ
สว่ นใหญป่ ระสบความสำ� เรจ็ ตามเปา้ หมายและมคี วามเหน็ สรปุ ตรงกนั วา่ “การเรยี นรดู้ จิ ทิ ลั (digital learning)
เปน็ วธิ กี ารเรยี นรทู้ มี่ ปี ระสทิ ธผิ ลสงู ทผ่ี เู้ รยี นทกุ คนตอ้ งมเี พอ่ื เรยี นรู้ “ทกั ษะสคู่ วามสำ� เรจ็ (skills to succeed)
ซึ่งผู้เรียนส่วนใหญ่มีผลการเรียนรู้ตามที่ก�ำหนด ปัญหาในการอบรมมิได้อยู่ท่ีระดับประสิทธิผลของการเรียน
รู้ดิจิทัลมีมากน้อยเท่าไร แต่อยู่ท่ีว่า “จะมีวิธีการออกแบบและบริหารจัดการโครงการเรียนรู้ดิจิทัลอย่างมี
ประสิทธิผลได้อย่างไร” การตอบปัญหาดังกล่าวอยู่ที่สาระส�ำคัญของผลการด�ำเนินงานขององค์การ Accen-
ture ซ่ึงสรุปได้รวม 2 ประการ ดังนี้
1. ไมม่ ีปัญหาดา้ นความขาดแคลนบรษิ ทั ใหม่ ๆ ท่มี กี ารเรียนรดู้ ิจทิ ัล (no shortage of new digital
learning companies) ค�ำว่าการเรียนรู้ดิจิทัล หมายถึงการเรียนรู้เน้ือหาสาระที่เพิ่มทักษะดิจิทัล และการเรียน
รู้อุปกรณ์หรือแพลตฟอร์มท่ีสามารถส่งเน้ือหาสาระเข้าถึงผู้รับสารได้มากขึ้น คนท่ัวไปเข้าใจว่าองค์การ Ac-
centure มีปัญหาขาดแคลนบริษัทใหม่ ๆ ท่ีมีการเรียนรู้ดิจิทัล ส�ำหรับเป็นแหล่งศึกษาเชิงปฏิบัติการของ
บุคลากรทางการศึกษา แต่ในความเป็นจริง มีบริษัทใหม่ ๆ จ�ำนวนมากท่ีปรับตัวและพัฒนาจนประสบความ
ส�ำเร็จเป็นบริษัทท่ีมีการเรียนรู้ดิจิทัลในการบริหารจัดการ และเป็นตัวอย่างแหล่งศึกษาเชิงปฏิบัติการของ
สถาบันการศึกษาได้อย่างดี มีบริษัทส่วนน้อยที่ไม่ประสบความส�ำเร็จในการปรับตัวและพัฒนา และองค์การ
ได้เรียนรู้ว่าบริษัทที่ไม่ประสบความส�ำเร็จกลุ่มนี้เป็น “แหล่งศึกษาปฏิบัติการที่ดีเยี่ยม” ขององค์การ เพราะ
มีสถานะท่ีเป็นปัญหา/อุปสรรคให้สถาบันการศึกษาได้เรียนรู้และแสวงหาแนวทางแก้ปัญหาตามสถานการณ์
จริง และองค์การได้เรียนรู้ว่าความล้มเหลวของบริษัทดังกล่าวเกิดข้ึนเน่ืองจาก “การออกแบบแผนการบริหาร
จัดการเพื่อสร้างบุคลากรท่ีมีการเรียนรู้ดิจิทัล” มีคุณภาพตํ่ากว่ามาตรฐานท่ีก�ำหนด มีผลท�ำให้ผลการพัฒนา
ของบริษัทล้มเหลว เม่ือทราบสาเหตุหลัก องค์การสามารถให้ค�ำแนะน�ำในการปรับปรุงวิธีด�ำเนินงานใหม่ตาม
เกณฑ์มาตรฐาน และบริษัทประสบความส�ำเร็จในการด�ำเนินงาน กระบวนการศึกษาวิเคราะห์เพ่ือแก้ปัญหา
ของบริษัทกลุ่มน้ี จึงเป็นตัวอย่างท่ีดีเยี่ยมส�ำหรับสถาบันการศึกษาด้วย
2. ความส�ำคัญของการเรียนรู้ดิจิทัล (digital learning) ที่ต้องปลูกฝังให้มีในตัวผู้เรียนทุกระดับ
องค์การ Accenture พบว่า “การเรียนรู้ดิจิทัล (digital learning) เป็นวิธีการเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิผลสูงที่ต้อง
ปลูกฝังให้เกิดในตัวผู้เรียนทุกระดับในยุคดิจิทัล เพราะเป็นวิธีการเรียนรู้วิธีเดียวที่จะสร้าง “ทักษะสู่ความ
ส�ำเร็จ (skills to succeed)” ได้ วิธีการพัฒนามิใช่ “ปัญหาว่าการเรียนรู้ดิจิทัลมีประสิทธิผลอย่างไร”
แต่เป็น “ปัญหาว่าจะออกแบบโปรแกรมการเรียนรู้ดิจิทัลและน�ำไปปฏิบัติให้มีประสิทธิผลได้อย่างไร” และ
ค�ำตอบปัญหาดังกล่าวสรุปได้ 4 ด้าน คือ ด้านผู้เรียน (learners) มีการใช้การเรียนรู้ดิจิทัลแบบผสมผสาน
(digital and blended learning) เพื่อสร้างทักษะเฉพาะส่วนท่ี ‘โครงการพัฒนาก�ำลังแรงงาน’ มุ่งพัฒนาให้
เกิดประโยชน์เฉพาะด้าน ดา้ นเนอ้ื หาสาระ (content) ทางเลือกของแบบแผนการด�ำเนินงาน ต้องพิจารณารวม
ถึงรูปแบบ วิธีการ การก�ำหนดระยะเวลา และการบริหารแบบแผนเฉพาะกรณี โดยบริษัทอาจต้องยอมเสียค่า
ใช้จ่ายเพิ่ม หรือเพ่ิมระบบงานที่ซับซ้อน เพ่ือชดเชยกับการได้รูปแบบการบริหารแบบแผนให้ประสบความ
ส�ำเร็จ นั่นคือการออกแบบต้องค�ำนึงถึงความต้องการของผู้ใช้ประโยชน์และต้องมีผลลัพธ์ของโครงการท่ีเป็น
เป้าหมายชัดเจน ด้านอุปสรรค (barriers) อุปสรรคด้านการน�ำแบบแผนไปบริหารให้มีการด�ำเนินงานตาม
แบบแผนที่ก�ำหนด มีหลายแบบ เช่น การเข้าถึง (access) โครงสร้างพ้ืนฐาน ICT การต่อต้านวิทยากร