Page 168 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 168

2-158 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

  เอกสารอ้างอิง
  Abakpa, B. O., Abah, J. A., & Agbo-Egwu, A. O. (2018). Science curiosity as a correlate of

          academic performance in mathematics education: Insights from Nigerian higher
          education. African Journal of Teacher Education, 7, 36-52.
  Accenture. (2015). How to design and scale digital and blended learning programs to improve
          employment and entrepreneurship outcomes. Retrieved from https:// www. accen-
          ture.com/t20160119t105855__w__/us-en/_acnmedia/pdf-5/accenture-digital-learning-
          report-and-how-to-guide_full.pdf
  Birenbaum, M., Alhijaa, F. N.-A., Shilton, H., Kimron, H., Rosanskid, R., & Shahor, N. (2019).
          A further look at the five-dimensional curiosity construct. Personality and Individu-
          al Differences, 149, 57–65.
  Mussel, P., Spengler, M., Litman, J. A., & Schuler, H. (2013). Development and validation of
          the German work-related curiosity scale. European Journal of Psychological Assess-
          ment, 28, 109–117.

       2.2 ตวั อยา่ งรายงานการทบทวนวรรณกรรม ส�ำหรับงานวิจัยด้านการพัฒนามาตรวัด และการตรวจ
สอบคุณสมบัติทางจิตมิติ (psychometric property)

  การพัฒนาและการตรวจสอบความตรงด้านจิตมิติของมาตรวัดความใฝ่เรียนรู้ 2 ชุด ที่สัมพันธ์กัน และการ
        ศกึ ษาความสัมพันธเ์ ชิงสาเหตุระหวา่ งความใฝเ่ รยี นรู้ และผลการเรยี นรูข้ องผู้เรียนในยุคดจิ ิทัล
            A Development and Psychometric Validation of the 2 Related Curiosity Scales
                  and a Causal Relationship Study Between Learners’ Curiosity
                        and Learners’ Learning Outcome in Digital Age
          นงลักษณ์ วิรัชชัย

  ความเปน็ มาและความส�ำคัญของปญั หาวจิ ยั
          ความใฝ่เรียนรู้ (curiosity) เป็นตัวแปรด้านแรงจูงใจในการเรียนตัวแปรหนึ่งที่มีคุณค่ามาก มี

  ประเด็นที่น่าสังเกตเกี่ยวกับค�ำภาษาอังกฤษว่า “curiosity” เนื่องจากพจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ ฉบับ
  ราชบณั ฑติ ยสถาน (2555) แปลวา่ “ความอยากรอู้ ยากเหน็ ” และใหค้ วามหมายวา่ “ความตอ้ งการทจี่ ะเรยี นรู้
  โดยมีใจจดจ่อและมีความพยายามแสวงหาข้อมูลหรือสิ่งใหม่ เป็นพฤติกรรมที่ควรส่งเสริมในด้านดีและแก้ไข
  ในด้านไม่ดี” จากความหมายดังกล่าวสะท้อนนัยยะของความหมายวา่ ‘ความอยากรูอ้ ยากเห็น เป็นพฤตกิ รรม
  ท่ีมีทั้งด้านดีหรือด้านบวก และด้านไม่ดีหรือด้านลบ ซึ่งไม่ตรงตามความหมายในภาษาอังกฤษของค�ำว่า
  ‘curiosity’ ที่มีความหมายด้านบวกท้ังหมด’ ในท่ีนี้ผู้วิจัยจึงเลือกใช้ค�ำแปลว่า “ความใฝ่เรียนรู้” ซึ่งแสดง
  นัยยะท่ีเป็นพฤติกรรมด้านดีหรือด้านบวกเพียงด้านเดียว
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173