Page 163 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 163

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2-153

       1.2 	ประเดน็ สำ� คญั ในการทบทวนวรรณกรรม ตามแนวคดิ ของ Rocco & Plakhotnik (2009) และ
Rowlan (2008) การทบทวนวรรณกรรมมปี ระเด็นคำ� ถามท่ใี ช้กนั มากในการทบทวนวรรณกรรม แตกตา่ งกนั
ตามวัตถุประสงค์หลักของการวิจัย ดังท่ีน�ำเสนอในตารางท่ี 2.3 ข้างต้น ประเด็นค�ำถามท่ีใช้เป็นแนวทางใน
การทบทวนวรรณกรรมข้างต้น อยู่ภายใต้ประเด็นส�ำคัญในการทบทวนวรรณกรรม 5 ประการ ดังต่อไปน้ี

            1) การทบทวนวรรณกรรม กรอบแนวคิดในการวิจัย และกรอบแนวคิดเชงิ ทฤษฎี มบี ทบาท
หนา้ ที่แบบเดียวกัน การทบทวนวรรณกรรม (literature review) กรอบแนวคิดในการวิจัย (conceptual
framework) และกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี (theoretical framework) มีบทบาทหน้าท่ีแบบเดียวกัน คือ
(1) เพื่อสร้างพื้นฐานแนวคิดในการวิจัย (2) เพ่ือแสดงให้เห็นว่างานวิจัยก่อให้เกิดความก้าวหน้าด้านความรู้
ใหม่ในประเด็นใด (3) เพ่ือสร้างแนวคิดหลักส�ำหรับการวิจัย (4) เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการประเมินแบบการ
วิจัย (research design) และประเมินการสร้างเคร่ืองมือวิจัย (instrumentation) และ (5) เพื่อก�ำหนด
จุดอ้างอิง (reference point) ส�ำหรับการแปลความหมายข้อค้นพบในการวิจัย

            2) 	ผลการทบทวนวรรณกรรมกระจายอยตู่ ามหวั ขอ้ ในงานวจิ ยั ผลจากการทบทวนวรรณกรรม
ตามประเด็นค�ำถามที่ระบุในวัตถุประสงค์การวิจัยแต่ละข้อในตารางท่ี 2.3 ข้างต้น อันเป็นจุดมุ่งหมายของ
การทบทวนวรรณกรรม มิได้อยู่ในหัวข้อ “รายงานการทบทวนวรรณกรรม” ท้ังหมด แต่กระจายอยู่ใน
สว่ นตา่ ง ๆ ของงานวจิ ยั เชน่ ผลการทบทวนวรรณกรรมดา้ นคณุ คา่ และความสำ� คญั ของการวจิ ยั อาจปรากฏ
ในส่วน ‘บทน�ำ’ ของงานวิจัย และผลการทบทวนวรรณกรรมด้านทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย อาจปรากฏ
ในส่วน ‘กรอบแนวคิดในการวิจัย’ และส่วน ‘รายงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย’ นอกจากนี้ผลการทบทวน
วรรณกรรมอาจอยู่ในสว่ น ‘การแปลความหมายผลการวเิ คราะหข์ ้อมลู ’ เพื่อให้ผ้อู า่ นได้ทราบถงึ ทม่ี าของการ
เลือกใช้วิธีการแปลความหมายข้อมูลตามแนวการวิจัยท่ีเก่ียวข้องก็ได้

            3) รายงานการทบทวนวรรณกรรมมใิ ชร่ ายงานสรปุ วรรณกรรม แตเ่ ปน็ การอภปิ รายอา้ งเหตผุ ล
สนับสนุนแนวคิด เม่ือพิจารณาจากประเด็นค�ำถามย่อยอันเป็นวัตถุประสงค์ในการรายงานผลการทบทวน
วรรณกรรมตามวตั ถุประสงค์การวจิ ัยท้งั 8 ขอ้ ในตารางท่ี 2.3 ขา้ งตน้ จะเห็นได้ชัดเจนว่ารายงานการทบทวน
วรรณกรรม เปน็ การอภปิ รายอา้ งเหตผุ ลสนบั สนนุ แนวคดิ ทงั้ 8 ประเดน็ ตวั อยา่ งเชน่ (1) แนวทางการทบทวน
วรรณกรรม คือ แนวทางแก้ปัญหาวิจัย (2) การทบทวนวรรณกรรม คือ การศึกษาแนวคิดทฤษฎีเพ่ือใช้เติม
เต็มช่องว่างที่เกิดจากความแตกต่างระหว่างสภาพที่เป็นอยู่เดิมและสภาพหลังจากแก้ปัญหาแล้ว โดยมีกรอบ
แนวคิดทฤษฎีและแนวปฏิบัติท่เี ปน็ รปู ธรรม (3) หวั ใจส�ำคัญของการทบทวนวรรณกรรม คือ “การสังเคราะห์
สาระจากวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง เพื่อประมวลให้ได้กระบวนวิธีการท่ีช่วยตอบค�ำถามวิจัยได้”

            4) การเสนอสาระในการทบทวนวรรณกรรมควรต้องมีเหตุผลสนับสนุนว่าท�ำไมต้องเสนอ
สาระดังกล่าว เม่ือมองมุมกลับอาจสรุปอีกแบบหน่ึงได้ว่า วรรณกรรมที่เสนอในรายงานการทบทวน
วรรณกรรมล้วนเป็นวรรณกรรมที่ช่วยให้นักวิจัยด�ำเนินการวิจัยได้ตามวัตถุประสงค์ และในกรณีท่ีนักวิจัย
เสนอรายงานการทบทวนวรรณกรรมว่า “วธิ กี ารทใ่ี ชอ้ ยเู่ ดิมมขี อ้ จ�ำกดั ” นักวิจยั ไม่จำ� เปน็ ตอ้ งอธบิ ายข้อจ�ำกัด
โดยละเอียด ยกเว้นกรณที ี่นักวจิ ยั ตอ้ งการเสนอสาระให้เห็นความจำ� เป็นในการเสนอข้อจ�ำกัดในการวิจยั ท่ีใช้
และออกแบบการวจิ ยั เพอ่ื ลดขอ้ จำ� กดั ดงั กลา่ ว เพอื่ ใหไ้ ดค้ ำ� ตอบปญั หาวจิ ยั ทตี่ อ้ งการ กลา่ วโดยสรปุ การกำ� หนด
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168