Page 162 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 162
2-152 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
ตารางท่ี 2.3 (ตอ่ )
วัตถุประสงค์การวจิ ัย ประเด็นคำ� ถามท่ีใชก้ นั มากในการทบทวนวรรณกรรม
5. การแก้ปัญหาความขัดแย้ง 1) ก รณีพิจารณาประเด็นส�ำคัญ มีประเด็นสนับสนุนและประเด็นโต้แย้ง
ในวรรณกรรม (resolving อย่างไร ค�ำถามประเภทน้ีเกิดจากการทบทวนวรรณกรรมที่มีแนวคิด
a conflict in the แตกต่างกัน จ�ำเป็นต้องมีการทบทวนวรรณกรรมเชิงวิพากษ์แต่ละแนวคิด
literature) ทุกแนวคิดในวัตถุประสงค์การวิจัยแต่ละข้อ เพื่อให้สามารถระบุข้อตกลง
เบ้ืองต้นท่ีใช้ว่ามีปัญหาหรือไม่ และอย่างไร เพ่ือจะได้ศึกษาเชิงลึกต่อไป
อน่ึงในกรณีที่จ�ำเป็น นักวิจัยอาจพิจารณาด�ำเนินการวิจัยที่ศึกษาท้ัง
ประเด็นสนับสนุน และประเด็นโต้แย้ง เพ่ือประโยชน์ต่อผู้อ่าน เมื่อได้
เรียนรู้ผลการวิจัยท่ีเป็นท้ังหมด
2) ต้องมีการศึกษาวรรณกรรมเพ่ิมเติมประเด็นใด และอย่างไร เพ่ือแก้
ปัญหาความขัดแย้งในวรรณกรรมดังท่ีเสนอในข้อ 1
6. ก ารสังเคราะห์งานวิจัยทั้งเชิง 1) น ักวิจัยเลือกใช้วิธีการสังเคราะห์งานวิจัยแบบใด มีเหตุผลสนับสนุน
ปริมาณ และเชิงคุณภาพ อย่างไรในการตัดสินใจเช่นน้ัน
(research synthesis 2) คุณค่าของผลการสังเคราะห์งานวิจัยสูงกว่างานวิจัยใหม่เร่ืองเดียวอย่างไร
both quantitative and 3) ผ ลการสังเคราะห์งานวิจัยท่ีจะได้รับ มีความส�ำคัญอย่างไร เกิดประโยชน์
qualitative) ต่อผู้เกี่ยวข้องกับการวิจัยกลุ่มใด และอย่างไร
7. เพื่อวิจัยและพัฒนาด้าน 1) “ตัวแปร” ที่มุ่งพัฒนาเครื่องมือวัดมีความส�ำคัญอย่างไร
เคร่ืองมือการวัด “ตัวแปร” 2) เครื่องมือวัดท่ีใช้อยู่เดิมมีปัญหาอะไร ผลการพัฒนาเครื่องมือวัดใหม่
โดยเฉพาะตัวแปรเดิมที่มี
นิยามต่างจากเดิมในยุค คุ้มค่าหรือไม่ และอย่างไร (กรณีตัวแปร “ผลลัพธ์การเรียนรู้ในยุคดิจิทัล”
ดิจิทัล เช่น ผลสัมฤทธิ์ แตกต่างจาก “ผลลัพธ์การเรียนรู้ในอดีต” ท่ีใช้นิยามของ Blooms เพราะ
ทางการเรียน ต้องเพิ่มข้อมูลตัวแปรผลการเรียนรู้ด้านดิจิทัลอีกหลายมิติ เช่น
พฤติกรรมการติดอินเทอร์เน็ต (internet dependency behaviors)
เป็นต้น
8. เพ่ือสร้างกรอบแนวคิดใน 1) กรอบแนวคิดในการวิจัย (conceptual framework) และกรอบแนวคิด
การวิจัย และกรอบแนวคิด เชิงทฤษฎี (theoretical framework) เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
เชิงทฤษฎี อันเป็นผลจาก
การทบทวนวรรณกรรม 2) จ ุดมุ่งหมายของการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย กรอบแนวคิด
เชิงทฤษฎี และรายงานการทบทวนวรรณกรรมเก่ียวข้องกันอย่างไร
3) การทบทวนวรรณกรรมในงานวิจัยทุกเรื่องจ�ำเป็นต้องมีกรอบแนวคิดใน
การวิจัย และกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีหรือไม่ เพราะอะไร
ที่มา: ปรับเน้ือหาสาระโดยผู้เขียนเพ่ิมเติมจากเนื้อหาสาระของ Rocco & Plakhotnik. (2009). และ Rowlan. (2008).