Page 160 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 160
2-150 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
เพื่อแสดงว่า “นักวิจัยมีความรู้จริง และเข้าใจอย่างชัดเจนทุกประเด็น สามารถก�ำหนดค�ำถามวิจัยและ
วัตถุประสงค์ที่เหมาะสมถูกต้อง สามารถออกแบบการทดลองได้ตรงตามลักษณะค�ำถามวิจัย เข้าถึงและ
ด�ำเนินการทดลองได้ถูกต้องตามที่ได้ออกแบบ รวมทั้งสามารถพัฒนาและตรวจสอบความตรงของเครื่องมือ
วิจัย และตัวจัดกระท�ำ (treatment) เข้าใจและมีทักษะในการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล สามารถวิเคราะห์
ข้อมูล และแปลความหมายผลการวิเคราะห์ได้ถูกต้องตรงตามประเด็นปัญหาวิจัย ได้ผลการวิจัยใหม่ที่มี
นวัตกรรม มีคุณประโยชน์มากกว่างานวิจัยในอดีต”
วัตถุประสงค์ข้อ 6 เพื่อให้ผู้อ่านเชื่อม่ันว่าวิธีการวิจัยท่ีใช้น้ันนักวิจัยได้คิดไตร่ตรองทบทวน
ผลดี ผลเสีย และคุณค่าอย่างถ่ีถ้วนว่าเป็นวิธีการวิจัยท่ีสมเหตุสมผล นักวิจัยต้องแสดงให้เห็นว่าการตอบ
ปัญหาวิจัยที่ก�ำหนดน้ันสามารถใช้วิธีการวิจัยได้หลายแบบ แต่วิธีการวิจัยท่ีเลือกใช้น้ันเป็นวิธีการท่ีดีและ
เหมาะสมมากที่สุด ทั้งน้ีการเขียนอธิบายจุดเด่นของวิธีการวิจัยที่เลือกใช้ นักวิจัยต้องระมัดระวังมิให้มีข้อ
จ�ำกัด (limitations) ในการวิจัย หากมีข้อจ�ำกัด นักวิจัยควรต้องระบุว่าจะด�ำเนินการอย่างไรเพ่ือมิให้มีข้อ
จ�ำกัดดังกล่าว
วตั ถปุ ระสงคข์ อ้ 7 เพอื่ นำ� เสนอคำ� ศพั ทเ์ ฉพาะ (terminology) และนยิ ามคำ� ศพํ ทเ์ ฉพาะ ในกรณี
ท่ีนักวิจัยท�ำการวิจัยที่เป็นความคิดใหม่ ประเด็นใหม่ ย่อมหลีกเล่ียงมิได้ท่ีจะต้องมีค�ำศัพท์ใหม่ซ่ึงเป็น
ค�ำศัพท์เฉพาะสาขาวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา นักวิจัยสาขาวิชาอื่นอาจจะไม่คุ้นเคยกับค�ำศัพท์
ดังกล่าว นักวิจัยจ�ำเป็นต้องพิจารณาให้ค�ำอธิบาย กรณีท่ีเป็นค�ำศัพท์ที่มีการใช้อยู่บ้าง ให้นักวิจัยยึดนิยาม
หรือค�ำอธิบายซ่ึงเป็นท่ียอมรับในวงวิชาการมาอธิบายประกอบค�ำศัพท์ กรณีที่เป็นค�ำศัพท์ใหม่และยังไม่มี
นิยามท่ีแน่ชัด ให้นักวิจัยเสนอทางเลือกในการใช้ค�ำนิยามศัพท์เฉพาะจากทุกแบบ พร้อมทั้งให้เหตุผลว่าเหตุ
ใดจงึ เลอื กนยิ ามแบบนนั้ และในรายงานการทบทวนวรรณกรรม นกั วจิ ยั ควรตอ้ งเขยี นอธบิ ายดว้ ยดงั ตวั อยา่ ง
เช่น “ตามจุดมุ่งหมายของการวิจัยคร้ังนี้ ผู้วิจัยเลือกใช้นิยามของตัวแปร X ว่า... (ระบุรายการอ้างอิง) ด้วย
เหตุผลรวม .. ประการ คือ ...........”
นอกจากแนวทางการก�ำหนดวัตถุประสงค์ส�ำหรับประเด็นทุกประเด็นในข้ันตอนการทบทวน
วรรณกรรมทั้ง 7 ข้อที่น�ำเสนอข้างต้น Rocco and Plakhotnik (2009) และ Rowlan (2008) ได้เสนอวิธี
การก�ำหนดวัตถุประสงค์ในรูปประเด็นค�ำถาม รวม 8 ข้อ เพื่อให้นักวิจัยได้เห็นประเด็นท่ีเป็นปัญหาโดยตรง
ลกั ษณะคำ� ถามดงั กลา่ วเปน็ ทยี่ อมรบั ในวงการวจิ ยั และมนี กั วจิ ยั นำ� ไปใชป้ ระโยชนใ์ นการทบทวนวรรณกรรม
โดยแยกตามวัตถุประสงค์การวิจัย ดังตารางที่ 2.3