Page 156 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 156

2-146 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

บทความ/รายงานวจิ ัยท่ดี มี ากและยดึ เปน็ แบบอยา่ ง โดยเฉพาะบทความ/รายงานวจิ ัยจากวารสารวิชาการต่าง
ประเทศท่ีมี impact factor สูง ๆ นักวิจัยควรอ่านและศึกษาหลายรอบเพ่ือท�ำความเข้าใจ และฝึกฝนให้เกิด
ทักษะในการรายงานการทบทวนวรรณกรรมต่อไป

       3. 	ขนั้ ตอนการนำ� เสนอรายงานการทบทวนวรรณกรรม การนำ� เสนอรายงานการทบทวนวรรณกรรม
เป็นการเขียน/จัดพิมพ์รายงานผลการศึกษาและสังเคราะห์วรรณกรรม ตามรูปแบบและหลักการวิจัย
มีข้ันตอนการด�ำเนินงานเช่นเดียวกับการเขียนรายงานหรือผลงานวิชาการท่ัวไป สรุปได้ เป็น 5 ขั้นตอน
ขั้นตอนแรก การวางโครงร่าง (Outline) รายงาน นักวิจัยควรก�ำหนดโครงร่างของสาระที่จะท�ำรายงาน ให้
สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายของการศึกษาวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง โดยอาจน�ำเสนอจากเรื่องทั่วไปแล้วจึงน�ำ
เสนอเรื่องที่เฉพาะเจาะจง น�ำไปสู่ประเด็นที่ต้องการน�ำเสนอ ส่วนหลักการส�ำหรับการวางโครงร่างที่ดี คือ
หลักของความตรงกรณี (relevance) หรือเก่ียวข้อง (related) กับปัญหาวิจัย หรือการน�ำไปใช้ประโยชน์ใน
งานวิจัย ขน้ั ตอนทส่ี อง การเขยี นรา่ งรายงานฉบบั รา่ งแรก (First Draft) นักวิจัยน�ำสาระท่ีได้จากการทบทวน
วรรณกรรมมาเขียนรายงานตามโครงร่างท่ีก�ำหนดไว้ โดยเขียนเป็นตอน (part) ตามหัวข้อในโครงร่าง
ในแต่ละตอนแบ่งเป็นย่อหน้า (paragraph) ซ่ึงควรเร่ิมต้นด้วยประโยคส�ำคัญ (key sentence) แล้วตาม
ด้วยค�ำอธิบาย ตัวอย่าง หรือข้อความขยาย ตามลักษณะการจัดระบบความคิดของนักวิจัย และจบย่อหน้า
ด้วยประโยคสรุป หรือประโยคที่เช่ือมโยงกับสาระในย่อหน้าต่อไป การเขียนร่างรายงานท้ังหมดควรระวังใช้
ภาษาเขียนท่ีเป็นประโยคแบบง่าย ส้ัน กะทัดรัด ชัดเจน และส่ือความหมายตามที่นักวิจัยต้องการ ไม่ควรใช้
ภาษาพูด ไม่ใช้ค�ำฟุ่มเฟือย หรือศัพท์เทคนิคสูงเกินความจ�ำเป็น สาระท้ังหมดท่ีเสนอในรายงานทุกย่อหน้า
ต้องเช่ือมโยงกันตลอดทั้งในหัวข้อเดียวกันและทุกหัวข้อ และเม่ือจบหัวข้อแต่ละหัวข้อ หรือจบตอนแต่ละ
ตอน ควรมกี ารสรุปประเด็นส�ำคัญ และมกี ารสรปุ รวมของรายงานวรรณกรรมทเ่ี ก่ียวขอ้ งดว้ ย ขนั้ ตอนทสี่ าม
การปรับปรุงร่างรายงาน นักวิจัยควรอ่านทบทวน และปรับปรุงจุดบกพร่องในร่างรายงานวรรณกรรมที่
เกย่ี วขอ้ งตลอดระยะเวลาทด่ี ำ� เนนิ การวจิ ยั เนน้ การปรบั ปรงุ รายละเอยี ด เพราะสว่ นสำ� คญั ไดน้ ำ� ไปใชต้ อ่ เนอื่ ง
ในการวิจัย แต่รายละเอียดบางด้านอาจมิได้น�ำไปใช้ประโยชน์และกลายเป็นวรรณกรรมส่วนท่ีไม่เก่ียวข้อง
กับงานวิจัย ข้ันตอนที่ส่ี การจัดท�ำรายงานฉบับจริง นักวิจัยรายงานการทบทวนวรรณกรรมได้ในเน้ือหา
ทุกบทของรายงานวิจัย/วิทยานิพนธ์ โดยอาจแบ่งเน้ือหาเป็น 6 ส่วน ตามจ�ำนวนบท 5 บท และบรรณานุกรม
ในรายงานวิจัย/วิทยานิพนธ์ ดังนี้ 1) ส่วนบทน�ำ ให้สาระเกี่ยวกับความเป็นมาและความส�ำคัญของปัญหา
วิจัย ตลอดจนสภาพของปัญหาท่ีแสดงให้เห็นความจ�ำเป็นท่ีต้องท�ำวิจัย นวัตกรรมท่ีใช้ รวมท้ังประโยชน์ที่
คาดว่าจะได้รับจากงานวิจัยที่จะท�ำ 2) ส่วนเนื้อเร่ือง เป็นส่วนส�ำคัญของรายงานการทบทวนวรรณกรรม
ประกอบด้วยแนวคิดทฤษฎีท่ีเป็นพื้นฐานแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรหรือปรากฏการณ์ น�ำไปสู่กรอบ
แนวคิดเชิงทฤษฎี นิยามและวิธีการวัดตัวแปรหรือความหมายของปรากฏการณ์ที่จะศึกษา นักวิจัยสามารถ
ใช้ผลงานวิจัยใหม่ ๆ ช้ีน�ำให้เห็นวิธีการด�ำเนินการวิจัยที่มีคุณภาพและให้ผลการวิจัยดีข้ึน รายงานส่วนนี้
จะอยู่ในบทที่ 2 ของรายงานวิจัย/วิทยานิพนธ์ และเป็นส่วนส�ำคัญที่บ่งช้ีถึงคุณภาพของการทบทวน
วรรณกรรมของนักวิจัยด้วย 3) สว่ นวธิ ดี ำ� เนนิ การวจิ ยั เป็นส่วนที่ได้จากวรรณกรรมซ่ึงช้ีแนวทางการวิจัยให้
นักวิจัยตัดสินใจเลือกใช้ได้โดยมีสาระอย่างสมบูรณ์ ประกอบด้วยเน้ือหาด้านประชากร กลุ่มตัวอย่าง/ผู้ให้
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161