Page 154 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 154

2-144 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

       ส่วนด้านทักษะในการจัดท�ำรายงาน “การทบทวนวรรณกรรม” นั้น โดยท่ัวไปนักวิจัยที่มีทักษะและ
ประสบการณ์ในการศึกษาเอกสาร/ต�ำราวิชาการ การสรุปสาระจากเอกสารมาจัดหมวดหมู่สังเคราะห์ เพื่อน�ำ
มาเขียนเป็นรายงานวิชาการ ย่อมมีทักษะในการทบทวนวรรณกรรม และการจัดท�ำรายงานการทบทวน
วรรณกรรม จึงสามารถเขียนรายงานการทบทวนวรรณกรรมได้ กรณีนักศึกษาท่ีขาดประสบการณ์ดังกล่าว
แต่มีทักษะในการเขียนเรียงความ (essay) และรายงานวิชาการมาก่อน ย่อมพัฒนาทักษะการทบทวน
วรรณกรรมได้ไม่ยากนัก วิธีท่ีดีมากและได้ผล คือ การศึกษาสังเกตรายงานการทบทวนวรรณกรรมจาก
บทความวจิ ยั และรายงานวจิ ยั ทด่ี มี ากยดึ เปน็ แบบอยา่ ง โดยเฉพาะบทความวจิ ยั และรายงานวจิ ยั จากวารสาร
วิชาการต่างประเทศท่ีมี impact factor สูง ๆ อ่านหลาย ๆ เท่ียวเพื่อท�ำความเข้าใจ และฝึกฝนให้เกิดทักษะ
ในการรายงานการทบทวนวรรณกรรม จากนน้ั ควรศกึ ษาสาระในเรอ่ื งที่ 2.3.2 เพอ่ื จะไดม้ ที กั ษะจากการศกึ ษา
แนวทางและตัวอย่างการน�ำเสนอวรรณกรรมการวัดและประเมินผลการศึกษาต่อไป

สรปุ

       กิจกรรมข้ันตอนสุดท้ายของการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง คือ การน�ำเสนอ “รายงานการ
ทบทวนวรรณกรรม” ซ่ึงมีรูปแบบ หลักการ และข้ันตอนการน�ำเสนอแตกต่างกันได้หลายรูปแบบ ผู้เขียนน�ำ
เสนอสาระรวม 3 เร่ือง คือ รูปแบบ หลักการ และข้ันตอนการน�ำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรม หรือ
“รายงานการทบทวนวรรณกรรม” ดังนี้

       1. 	รปู แบบการนำ� เสนอ “รายงานการทบทวนวรรณกรรม”
       “รายงานการทบทวนวรรณกรรม” มีรูปแบบการน�ำเสนอตามเกณฑ์การจ�ำแนกที่แตกต่างกัน 5 รูป
แบบ คือ รูปแบบที่ 1 รูปแบบการน�ำเสนอรายงานการทบทวนวรรณกรรมจ�ำแนกตามวัตถุประสงค์ จ�ำแนก
ได้เป็น 4 รูปแบบ ดังน้ี 1) รูปแบบสร้างเสริมองค์ความรู้ทางวิชาการ 2) รูปแบบเสนอทางเลือกใหม่ 3) รูป
แบบน�ำเสนอวิวัฒนาการของเร่ืองที่ท�ำวิจัย และ 4) รูปแบบน�ำเสนอสาระท่ีเป็นข้อยุติของผลการวิจัยที่ขัดแย้ง
กัน รูปแบบท่ี 2 รูปแบบการน�ำเสนอรายงานการทบทวนวรรณกรรมจ�ำแนกตามลักษณะเน้ือหาสารสนเทศ
จ�ำแนกได้เป็น 5 รูปแบบ ดังน้ี 1) รูปแบบรายงานบริบท (context review) 2) รูปแบบรายงานประวัติ
(historical review) 3) รูปแบบรายงานทฤษฎี (theoretical review) 4) รูปแบบรายงานวิธีวิทยา (meth-
odological review) และ 5) รูปแบบรายงานผลการวิจัย (research result review) รูปแบบที่ 3 รูปแบบ
รายงานการทบทวนวรรณกรรมจ�ำแนกตามวิธีการทบทวนวรรณกรรม (literature review) จ�ำแนกได้เป็น
2 วิธี ดังนี้ 1) รูปแบบรายงานด้วยวิธีการสังเคราะห์งานวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative synthesis) และ
2) รูปแบบรายงานการสังเคราะห์เชิงปริมาณ (quantitative synthesis) รูปแบบท่ี 4 รูปแบบรายงานการ
ทบทวนวรรณกรรมจ�ำแนกประเด็นวรรณกรรมตามระดับการเรียนรู้ จ�ำแนกได้เป็นการเสนอวรรณกรรม 6
ระดับ ดังน้ี 1) การเสนอวรรณกรรมระดับความรู้ 2) การเสนอวรรณกรรมระดับความเข้าใจ 3) การเสนอ
วรรณกรรมระดับการน�ำไปใช้ 4) การเสนอวรรณกรรมระดับการวิเคราะห์ 5) การเสนอวรรณกรรมระดับการ
สังเคราะห์ และ 6) การเสนอวรรณกรรมระดับการประเมินค่า รูปแบบท่ี 5 รูปแบบรายงานการทบทวน
วรรณกรรมจ�ำแนกตามประเด็นในการสังเคราะห์ จ�ำแนกตามประเด็นการสังเคราะห์ได้ 4 รูปแบบ ดังน้ี
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159