Page 158 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 158

2-148 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา

เรือ่ งที่ 2.3.2 ต วั อยา่ งการน�ำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมการ
          วดั และประเมินผลการศึกษา

       การน�ำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรม หรือเรียกส้ัน ๆ ว่า “การทบทวนวรรณกรรม (Literature
Review)” หรือเรียกตามค�ำศัพท์สมัยก่อนว่า “การทบทวนเอกสารและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง (Related Lit-
erature Report)” เป็นงานท่ีไม่ยากเม่ือนักวิจัยเข้าใจหลักการและข้ันตอนการน�ำเสนอรายงาน แต่เน่ืองจาก
ไม่ค่อยมีต�ำราแนะน�ำวิธีการรายงาน หรือให้ตัวอย่างการรายงาน ประกอบกับ “การทบทวนวรรณกรรม”
เทา่ ทมี่ อี ยใู่ นวทิ ยานพิ นธส์ ว่ นใหญ่ มกั เปน็ รายงานนำ� เสนอวรรณกรรมจากงานวจิ ยั เปน็ รายเรอ่ื งนำ� มาจดั พมิ พ์
ติดต่อกัน โดยไม่มีการสังเคราะห์สาระซ่ึงเป็นการทบทวนวรรณกรรมท่ีไม่เหมาะสม ดังนั้นในตอนน้ีผู้เขียน
จึงสรุปความรู้จากประสบการณ์ และจากเอกสารทั้งของไทยและต่างประเทศ ประกอบด้วยเอกสารของ
นงลักษณ์ วิรัชชัย (2538, 2542, 2543); Babbie (2007); Best and Kahn (1993); Cash (1983); Cozby
(1995); Dooly (1990); Glass, McGaw and Smith (1981); Kerlinger and Lee (2000); Neuman
(1991); และ Van Til (1986) สรุปน�ำเสนอสาระแยกเป็น 2 ประเด็น คือ แนวทางการน�ำเสนอวรรณกรรมที่
เกี่ยวข้องด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา โดยเน้นความส�ำคัญของการน�ำเสนอกรอบแนวคิด และ
สมมติฐานวิจัยเป็นพิเศษ และตัวอย่างการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องด้านการวัดและประเมินผลการ
ศึกษา ดังต่อไปน้ี

1. 	แนวทางน�ำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรมดา้ นการวดั และประเมนิ ผลการศกึ ษา

       โดยท่ีรายงานการทบทวนวรรณกรรม มีลักษณะแตกต่างกันตามประเภทของงานวิจัย ดังนั้นการน�ำ
เสนอผลการทบทวนวรรณกรรม จึงมีแนวทางและประเด็นส�ำคัญแตกต่างกันตามงานวิจัยด้วย ดังน้ี

       1.1 	แนวทางการทบทวนวรรณกรรม การท�ำงานไม่ว่าจะเป็นงานประเภทใด จะประสบความส�ำเร็จ
ได้อย่างงดงาม เมื่อผู้ท�ำงานมีวัตถุประสงค์ชัดเจน การทบทวนวรรณกรรมก็เช่นเดียวกัน นักวิจัยจะจัดท�ำ
รายงานการทบทวนวรรณกรรมไดส้ ำ� เรจ็ ลลุ ว่ ง และเรยี บรอ้ ย เมอ่ื มวี ตั ถปุ ระสงคช์ ดั เจน ในทน่ี ผี้ เู้ ขยี นตอ้ งการ
ระบุวัตถุประสงค์ทุกประเด็นในขั้นตอนการทบทวนวรรณกรรม จึงก�ำหนดวัตถุประสงค์ในรูปแนวทางการ
ทบทวนวรรณกรรม อิงแนวคิดของ Rowlan (2008) โดยผู้เขียนปรับเน้ือหาสาระให้เหมาะสมกับการทบทวน
วรรณกรรมด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา รวม 8 ประการ ดังน้ี

            วัตถปุ ระสงค์ขอ้ 1 เพอ่ื ใหผ้ อู้ ่านตระหนักถงึ ความสำ� คัญและคุณคา่ ของงานวจิ ัย รายงานการ
ทบทวนวรรณกรรมประเด็นแรก คือ การระบุประเด็นส�ำคัญของงานวิจัยท่ีเป็นประเด็นส�ำคัญ จ�ำเป็นต้องท�ำ
วิจัย ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ท่ีเป็นท่ีต้องการมาก โดยฉายภาพให้เห็นภาพรวมท้ังหมดของงานวิจัยใน
แนวท่ีนักวิจัยก�ำลังจะท�ำ กล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ นักวิจัยต้องพยายามตอบค�ำถามให้ชัดเจนท่ีสุดว่า “เหตุใด
นักวิจัยจึงเช่ือม่ันว่าการวิจัยในประเด็นท่ีก�ำลังจะท�ำ เป็นเร่ืองที่ส�ำคัญ และจ�ำเป็นอย่างย่ิงที่ต้องท�ำ”
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163