Page 29 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 29

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง 2-19
แต่นำ� มาใช้ในการทบทวนวรรณกรรมเฉพาะส่วนทนี่ ักวิจยั เจาะจงเลือก (purposive select) มาบางสว่ นดว้ ย
การคัดเฉพาะวรรณกรรมที่มีสาระสมบูรณ์ และเป็นวรรณกรรมใหม่ทันสมัยที่มีการสรุปความเป็นมาในอดีต
ไวด้ ว้ ย โดยอธิบายให้เห็นวา่ วรรณกรรมสว่ นที่เลือกมาใช้ในการวิจยั เป็นตัวแทนของวรรณกรรมท้ังหมดและ
มคี วามเหมาะสมตอ่ การวิจยั

                     ขอบเขตแบบที่สาม ขอบเขตความเป็นตัวแทน (representative coverage)
นกั วจิ ยั คน้ คนื และจดั หาวรรณกรรมทเี่ กย่ี วขอ้ งเฉพาะสว่ นทเี่ ปน็ ตวั แทนของวรรณกรรมทงั้ หมด โดยอภปิ ราย
ลกั ษณะเนอื้ หาสาระของวรรณกรรมทเ่ี ปน็ ตวั แทนของวรรณกรรมทง้ั หมดอยา่ งสมเหตสุ มผลกอ่ นการเสนอผล
การสังเคราะหส์ รปุ สาระเฉพาะส่วนทีเ่ ป็นตัวแทนของวรรณกรรมทง้ั หมด

                     ขอบเขตแบบท่สี ี่ ขอบเขตความเปน็ ศูนยก์ ลางหรอื ความสำ� คญั (central or piv-
otal coverage) นกั วจิ ยั คดั สรรเฉพาะวรรณกรรมตน้ แบบทเี่ กยี่ วขอ้ งโดยตรง และมอี ทิ ธพิ ลตอ่ การพฒั นางาน
วจิ ยั รุ่นหลัง นำ� ไปสูแ่ นวคดิ ใหม่ การกำ� หนดกรอบคำ� ถามวิจยั ที่มกี ารปรบั ปรงุ ค�ำถามวิจยั แนวใหม่มีการเสนอ
แนะโมเดลแนวคิดในการวิจยั ใหม่ และวิธวี ิทยาการวิจยั ใหม่ ทีจ่ ัดระเบยี บคำ� ถามวิจัยเป็นหมวดหมู่ใหเ้ ห็นชดุ
ค�ำถามวจิ ัยทีเ่ กีย่ วขอ้ งกนั เป็นศนู ยร์ วมสำ� คัญ อันกอ่ ให้เกดิ การอภิปรายทีม่ คี ณุ ค่าต่อนกั วิจยั รุ่นหลงั

                จ. การจัดระเบียบ (organization) ภาระงานส�ำคัญท่ีนักวิจัยต้องท�ำเมื่อค้นคืนเอกสาร
และงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการวิจัยเพื่อใช้ในการทบทวนวรรณกรรมมาได้ คือ การจัดระเบียบเอกสารงาน
วิจัย หรือการจัดหมวดหมู่งานวิจัย ซ่ึงท�ำได้ 3 แบบ โดยอาจจัดเพียงแบบเดียว หรือจัดสองแบบผสมกันก็ได้

                     การจัดระเบยี บแบบแรก การจัดหมวดหมูต่ ามประวัติศาสตร์ (historical orga-
nization) เป็นการจดั หมวดหมู่เอกสารและงานวิจัยตามปที พ่ี ิมพ์เผยแพร่ แสดงให้เหน็ ประวตั ิความก้าวหนา้
ของเหตกุ ารณ์ส�ำคัญแต่ละช่วงเวลา แสดงถึงววิ ัฒนาการทชี่ ัดเจนจากผลการทบทวนเอกสารและวิจยั

                     การจดั ระเบยี บแบบทสี่ อง การจดั หมวดหมตู่ ามแนวคดิ (conceptual organiza-
tion) เป็นการจดั หมวดหม่เู อกสารและงานวิจัยตามเนื้อหาสาระสำ� คัญ หรอื หลักการ ตามกรอบแนวคิดในการ
วิจยั

                     การจัดระเบียบแบบที่สาม การจัดหมวดหมู่ตามวิธีวิทยา (methodological
organization) เป็นการจดั หมวดหมูเ่ อกสารและงานวจิ ัยตามวธิ วี ทิ ยาที่ใชใ้ นการวจิ ยั แตล่ ะขั้นตอน

                ฉ. ผู้อ่านหรอื ผู้ใชง้ านวจิ ัย (audience) การจัดท�ำหรือเขียนรายงานวิจัยทุกคร้ัง นักวิจัย
ต้องพิจารณาว่าผู้อ่านหรือผู้ใช้งานวิจัยเป็นใคร เพ่ือจะได้เขียนรายงานวิจัยให้เหมาะสมกับผู้อ่านหรือผู้ใช้งาน
วิจัย ในการเขียนรายงานการทบทวนวรรณกรรม นักวิจัยต้องถือปฏิบัติเช่นเดียวกัน กล่าวคือ นักวิจัยต้อง
พิจารณาว่าผู้อ่านหรือผู้ใช้งานวิจัยเป็นใคร เพ่ือจัดท�ำหรือเขียนรายงานให้เหมาะสมตามความต้องการของ
ผู้อ่านและผู้ใช้งานวิจัย ซึ่งแบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ กลมุ่ แรก นักวิชาการเฉพาะทาง (specialized scholars)
นักวิจัยจัดท�ำหรือเขียนรายงานวิจัยโดยใช้ภาษาวิชาการได้เต็มที่ กลุ่มที่สอง นักวิชาการท่ัวไป (general
scholars) นักวิจัยจัดท�ำหรือเขียนรายงานวิจัยโดยใช้ภาษาวิชาการได้ แต่ไม่ควรใช้ภาษาที่ยากต่อการเข้าใจ
กลุ่มท่ีสาม ผู้ปฏิบัติหรือผู้ก�ำหนดนโยบาย (practitioners or policy makers) นักวิจัยจัดท�ำหรือเขียน
รายงานวิจัยที่เน้นการน�ำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์โดยเฉพาะด้านนโยบาย และไม่นิยมใช้ภาษาวิชาการ และ
กลมุ่ ทสี่ ่ี สาธารณชนทั่วไป (general public) นักวิจัยจัดท�ำหรือเขียนรายงานวิจัยท่ีเน้นการน�ำผลการวิจัยไป
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34