Page 27 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 27
การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง 2-17
Cooper and Hedges (2009) อธิบายสรุปลักษณะส�ำคัญของ ‘การทบทวนวรรณกรรม’
ไว้ว่า เมื่อพิจารณาเนื้อหาสาระที่ได้จาก ‘การทบทวนวรรณกรรม’ ท่ีนักวิจัยรายงานในหัวข้อ ‘การทบทวน
วรรณกรรม’ พบว่านักวิจัยมิได้สนใจเฉพาะข้อค้นพบจากการวิจัย แต่ให้ความสนใจศึกษาเน้ือหาสาระส�ำคัญ
อ่ืน ๆ ท่ีเกี่ยวข้องด้วย สาระทั้งหมดท่ีนักวิจัยต้องศึกษาแยกได้เป็น 6 ประเด็น ดังต่อไปนี้
ก. สาระส�ำคัญ (focus) ประกอบด้วยสาระ 4 ด้าน คือ ด้านแรก ข้อค้นพบจากงานวิจัย
(research findings) เป็นสาระส�ำคัญเปรียบเสมือนหัวใจของการทบทวนวรรณกรรม ด้านท่ีสอง วิธีการวิจัย
(research methods) เป็นสาระส�ำคัญที่นักวิจัยใช้ในการวิจัยเพ่ือให้ได้ข้อค้นพบด้านแรก ด้านท่ีสาม ทฤษฎี
(theories) เป็นสาระส�ำคัญที่ช่วยอธิบายปรากฏการณ์ท่ีท�ำวิจัย รวมท้ังปรากฏการณ์ท่ีเกี่ยวข้องกับการวิจัย
และด้านท่ีส่ี การปฏิบัติ หรือการประยุกต์ใช้ (practices or applications) เป็นสาระส�ำคัญโดยรวมจาก
การน�ำผลการบูรณาการผลงานวิจัยทั้งหมด รวมถึงตัวแปรจัดกระท�ำ โครงการพัฒนา ผลการพัฒนา เช่น
หลักสูตรที่นักวิจัยน�ำไปใช้ในการวิจัย และก่อให้เกิดผลการวิจัยข้างต้น
ข. เปา้ หมาย (Goal) การทบทวนวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องกับการวิจัยทุกคร้ัง นักวิจัยต้อง
มีเป้าหมายการด�ำเนินงาน โดยทั่วไปนิยมก�ำหนดเป้าหมายการทบทวนวรรณกรรมรวม 3 ประการ ดังนี้
เป้าหมายแรก บูรณาการ (integration) เป็นเป้าหมายส�ำคัญที่นักวิจัยทุกคนใช้
บอ่ ยมากในการทบทวนวรรณกรรม เพราะนกั วจิ ยั เชอ่ื วา่ วรรณกรรมทร่ี วบรวมมาไดน้ น้ั ตอ้ งเกย่ี วขอ้ งกบั ปญั หา
วิจัย แต่วรรณกรรมมีที่มาจากหลายสาขาวิชา และต้องน�ำมาบูรณาการหรือหลอมรวมเพ่ือให้ได้ผลตรงตาม
ปญั หาวจิ ยั ทต่ี อ้ งการศกึ ษา โดยทวั่ ไปแนวทางการบรู ณาการวรรณกรรมในการวจิ ยั แบง่ ออกไดเ้ ปน็ 3 ดา้ น คอื
ด้านแรก การสร้างข้อสรุปนัยท่ัวไป (generalization) เป็นเป้าหมายท่ีนักวิจัยใช้กันมากในการทบทวน
วรรณกรรม คอื การสรา้ งขอ้ สรปุ ฯ จากผลการสงั เคราะหส์ าระที่หลากหลาย ตัวอยา่ งเช่น ข้อเสนอแนะจากงาน
วิจัย วิธีการวิจัย ทฤษฎี และการปฏิบัติ/การประยุกต์ใช้ในการวิจัย ด้านที่สอง การแก้ปัญหาความขัดแย้ง
(conflict resolution) เปน็ เปา้ หมายทใี่ ชก้ นั คอ่ นขา้ งมากเพราะสาระทไี่ ดจ้ ากวรรณกรรมทคี่ น้ คนื ไดย้ อ่ มมคี วาม
ขดั แยง้ ในผลการวจิ ยั แนวคดิ หรอื ประเดน็ ขอ้ เทจ็ จรงิ ดงั นนั้ นกั วจิ ยั ตอ้ งเสนอแนวคดิ ใหมท่ พ่ี จิ ารณาแนวทาง
และขอ้ เสนอแนะในการลดหรอื แกป้ ญั หาความขดั แยง้ ดงั กลา่ วดว้ ย และดา้ นทส่ี าม การสรา้ งสะพานเชอ่ื มโยง
ทางภาษา (linguistic bridge-building) เปน็ เปา้ หมายดา้ นการสรา้ งกรอบความคดิ ทางภาษาแนวใหม่ ทสี่ มเหตุ
สมผล และเชอื่ มโยงความแตกต่าง/ชอ่ งวา่ งระหวา่ งมโนทัศน์ หรอื ทฤษฎไี ด้
เป้าหมายท่ีสอง การวิพากษ์ (criticism) เป็นเป้าหมายส�ำคัญในการวิเคราะห์
เชิงวิพากษ์วรรณกรรมที่ค้นคืน เป้าหมายของการทบทวนวรรณกรรมข้อนี้แตกต่างจากเป้าหมายการทบทวน
วรรณกรรมท่ัวไป ซึ่งมุ่งบูรณาการสาระจากวรรณกรรม หรือเปรียบเทียบวรรณกรรมเท่าน้ัน เหตุผลท่ีต้องมี
การวพิ ากษ์เพิ่มขึ้นนอกเหนอื จากบูรณาการและ/หรือการเปรียบเทียบวรรณกรรม เพราะเป้าหมายส�ำคัญของ
การทบทวนวรรณกรรมงานวจิ ยั คอื การประเมนิ วา่ วรรณกรรมแตล่ ะเรอื่ งนน้ั มคี ณุ สมบตั ติ ามเกณฑท์ ก่ี ำ� หนด
มากนอ้ ยเพยี งไร ยอมรบั ไดห้ รอื ไม่ เมอื่ ใชเ้ กณฑก์ ารวพิ ากษว์ รรณกรรมทแี่ ตกตา่ งกนั ตามประเภทวรรณกรรม
รวม 2 ดา้ น คอื ด้านแรก เกณฑค์ ณุ ภาพด้านวิธีวทิ ยา (methodological quality) เป็นเกณฑเ์ ปา้ หมายเฉพาะ
วรรณกรรมเชงิ ประจกั ษ์ (empirical literature) และดา้ นทีส่ อง เกณฑค์ ุณภาพด้านความเขม้ งวดเชงิ ตรรกะ
(logical rigor) เป็นเกณฑเ์ ปา้ หมายคุณภาพด้านความสมบรู ณ์ และขอบเขตของค�ำอธิบายเฉพาะวรรณกรรม