Page 40 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 40
2-30 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
1.2.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการทบทวนวรรณกรรมจาก Adams and Schvaneveldt (1991); Levy
and Ellis (2006); Neuman (1991) สรปุ ไดว้ า่ “วตั ถปุ ระสงคข์ องการทบทวนวรรณกรรมเปน็ ผลลพั ธป์ ลายทาง
ท่ีก่อให้เกิดผลดีแก่ตัวนักวิจัยผู้ท�ำวิจัย” รวม 3 ข้อ คือ 1) เพื่อสร้างความม่ันใจให้แก่ตัวนักวิจัยเอง และ
ผู้บริโภคงานวิจัย 2) เพ่ือช่วยให้นักวิจัยมีความรอบรู้ในเรื่องท่ีจะท�ำวิจัย และมีความรู้เพียงพอที่จะท�ำงาน
วิจัยได้อย่างมีคุณภาพ และ 3) เพื่อให้เร่ืองที่นักวิจัยจะท�ำวิจัยไม่ซ้ําซ้อนกับเรื่องที่มีนักวิจัยอื่น ๆ ท�ำไว้แล้ว
แต่เป็นเรื่องที่มีคุณค่าและมีความส�ำคัญช่วยสร้างเสริมความรู้ทางวิชาการและเป็นประโยชน์ต่อสังคม และ
คุ้มค่าสมควรท่ีจะท�ำวิจัย
1.2.3 วัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรมจาก Babbie (2007) สรุปได้ว่า นักวิจัย
สังคมศาสตร์ส่วนใหญ่ เร่ิมด�ำเนินการศึกษาวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องเมื่อก�ำหนดปัญหาวิจัยในเบ้ืองต้นแล้ว
โดยมี ‘แนวทางการด�ำเนินงานทบทวนวรรณกรรม’ ก�ำหนดไว้ในใจ 3 แนวทาง คือ 1) เพ่ือเรียนรู้ว่างานวิจัย
ในอดีตที่เก่ียวข้อง มีสาระสอดคล้องและขัดแย้งกันอย่างไร มีจุดเด่นและจุดด้อยท่ีควรปรับปรุงอย่างไร และ
เมอ่ื ไดเ้ รยี นรแู้ ลว้ จงึ เขยี นรายงานเพอ่ื เปน็ หลกั ฐานแสดงวา่ นกั วจิ ยั ไดน้ ำ� ความรมู้ าใชป้ ระโยชนใ์ นการออกแบบ
วิจัยใหม่ ที่เหมาะสมมากกว่าแบบแผนการวิจัยของงานวิจัยในอดีต เพื่อให้ได้ข้อค้นพบท่ีเป็นความรู้ใหม่และ
ได้นวัตกรรม 2) เพ่ือเรียนรู้จากข้อค้นพบจากงานวิจัยในอดีต ว่าควรต้องด�ำเนินการวิจัยต่อยอดในประเด็น
ใดจึงจะได้ผลงานวิจัยที่ต่างจากเดิม และ 3) เพ่ือศึกษาวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องช่วงปีใหม่ล่าสุดเพื่อเรียนรู้ว่า
มีข้อค้นพบใหม่ล่าสุดอะไรที่น่าสนใจเรียนรู้ และน�ำความรู้ใหม่มาใช้ด�ำเนินการวิจัยต่อยอด เพ่ือขยาย
องค์ความรู้เดิมด้วยความรู้ใหม่ให้เกิดการพัฒนาต่อยอดได้เป็นองค์ความรู้ใหม่ล่าสุด ที่มีคุณค่าต่อผู้ใช้
ประโยชน์งานวิจัยทุกฝ่าย ด้วยเหตุน้ีจึงกล่าวได้ว่าการศึกษาวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง เป็นกิจกรรมที่ได้รับการ
ยอมรับจากนักวิชาการที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการว่า เป็นกิจกรรมท่ีมีความส�ำคัญและเป็นกิจกรรมหลักที่
ขาดไม่ได้ในการท�ำวิจัย
1.2.4 วตั ถปุ ระสงคข์ องการทบทวนวรรณกรรมจาก Kerlinger and Lee (2000) สรปุ ไดว้ า่ แผน
แบบการวิจัย (research design) มีความหมายเป็น 4 นัย นยั แรก หมายถึง พิมพ์เขียว (blueprint) ของ
นกั วจิ ยั ซง่ึ ระบรุ ายละเอยี ดของรายงานวจิ ยั ทจ่ี ะวจิ ยั ซงึ่ มรี ปู แบบเปน็ แบบเดยี วกนั กบั พมิ พเ์ ขยี วของสถาปนกิ
ซึ่งระบุรายละเอียดของบ้าน/อาคาร/ส่ิงก่อสร้างท่ีจะสร้าง นัยที่สอง หมายถึง ยุทธวิธี (strategy) ท่ีนักวิจัย
ก�ำหนดจะใช้ในการวิจัยแต่ละขั้นตอน นยั ทสี่ าม หมายถึง แผนการด�ำเนินงาน (plan) ว่าจะด�ำเนินการวิจัย
ข้ันตอนใดอย่างไร กับใคร ท่ีไหน เมื่อไร และนยั ทส่ี ่ี หมายถึง โมเดล (model) หรือ โครงสร้าง (structure)
ที่เป็นผลจากการสร้างแนวคิด (conceptualization) จากสาระที่ได้ในการศึกษาวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง
ค�ำว่า “โครงสร้าง” ในท่ีน้ี หมายถึง “แผนภาพหรือโมเดล” แสดงโครงสร้างการวัดตัวแปรในการวิจัย และ/
หรือโครงสร้างแสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรทั้งหมดท่ีใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ และโครงสร้างความ
สมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเดน็ /พฤตกิ รรม/ขอ้ มลู ในการวจิ ยั เชงิ คณุ ภาพ” ดว้ ยเหตนุ ้ี โมเดล (model) หรอื โครงสรา้ ง
(structure) ท่ีเป็นผลจากการสร้างแนวคิด (conceptualization) ด้วยสาระจากการศึกษาวรรณกรรมที่
เก่ียวข้องจึงมีความส�ำคัญและเป็นประโยชน์ต่อการวิจัย เพราะเมื่อขาดการทบทวนวรรณกรรมที่เหมาะสม
นักวิจัยย่อมไม่มีโมเดลแนวคิดและไม่สามารถออกแบบวิจัยได้