Page 41 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 41

การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง 2-31
            1.2.5 วัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรมจาก Cooper, Hedges, & Valentine (2009)
สรุปได้ว่า วัตถุประสงค์ส�ำคัญของการศึกษาวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง มี 2 ประการ ประการแรก เพื่อให้
นักวิจัยมีคุณสมบัติท่ีพึงประสงค์ รวม 2 ด้าน ดังน้ี 1) มีความรอบรู้อย่างดีเยี่ยม มีความรู้สาระส�ำคัญของ
ผลงานวจิ ยั ในอดตี ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั การวจิ ยั อยา่ งดยี ง่ิ และมคี วามรพู้ รอ้ มทจ่ี ะดำ� เนนิ การวจิ ยั ได้ 2) มสี มรรถนะ
ด้านการวิจัย สามารถระบุปัญหาวิจัยได้ชัดเจนกว่าปัญหาวิจัยที่ก�ำหนดไว้ในเบ้ืองต้น สามารถสร้างกรอบ
แนวคิดในการวิจัยและก�ำหนดสมมติฐานวิจัยที่ตรงกับปัญหาวิจัยได้ถูกต้อง สามารถออกแบบการวิจัยได้
สามารถด�ำเนินการวิจัยตามแบบการวิจัยท่ีก�ำหนดอย่างมีระบบและถูกต้องเหมาะสม รวมทั้งได้ผลงานวิจัย
ใหม่ท่ีมีคุณภาพดีมากกว่างานวิจัยในอดีต และประการท่ีสอง เพื่อให้ได้รายงานผลการศึกษาวรรณกรรมท่ี
เก่ียวข้องมีสาระตามที่ก�ำหนดในวัตถุประสงค์ รวม 5 ด้าน ดังต่อไปน้ี 1) ได้รายงานแสดงโครงสร้างหรือ
กรอบแนวคิดในการวิจัย ซึ่งเป็นประโยชน์ในการออกแบบวิจัยต่อไป 2) ได้รายงานแสดงแนวทางการ
ด�ำเนินงานวิจัยแนวใหม่ที่ถูกต้องเหมาะสมกว่างานวิจัยในอดีต 3) ได้รายงานที่มีส่วนท่ีเป็นนวัตกรรมในงาน
วิจัย และไม่ซ้ําซ้อนกับงานวิจัยในอดีต 4) ได้รายงานท่ีมีหลักฐานแสดงว่ามีคุณภาพสูง และ 5) ได้รายงานท่ี
แสดงให้เห็นความเช่ือมโยงระหว่างความรู้ที่จะได้จากการวิจัยใหม่กับองค์ความรู้ทางวิชาการเดิมที่มีอยู่แล้ว
และอธิบายได้ว่าผลงานวิจัยใหม่ท่ีได้น้ันมีส่วนสร้างเสริมองค์ความรู้ทางวิชาการเดิม อันก่อให้เกิดความ
ก้าวหน้าของศาสตร์ได้อย่างสมเหตุสมผล
            1.2.6 วัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรมจาก James (2010) สรุปได้ว่า การทบทวน
วรรณกรรมเป็นกิจกรรมในกระบวนการวิจัยท่ีนักวิจัยทุกคนต้องท�ำ ในกรณีที่นักวิจัยมิได้อ่านวรรณกรรม
ในเรอ่ื งทตี่ นสนใจอยา่ งตอ่ เนอ่ื งสมาํ่ เสมอ เมอ่ื จำ� เปน็ ตอ้ งเรม่ิ ทำ� งานวจิ ยั นกั วจิ ยั ผนู้ น้ั จงึ มภี าระในการทบทวน
วรรณกรรมสูงมากกว่าหลายเท่า เมื่อเปรียบเทียบกับนักวิจัยท่ีอ่านวรรณกรรมอย่างสม่ําเสมอซึ่งมีภาระใน
การทบทวนวรรณกรรมเพ่ิมเติมอีกเล็กน้อยเท่าน้ัน จะเห็นได้ว่านักวิจัยที่พ่ึงเร่ิมต้นอ่านวรรณกรรมตอนท่ี
คิดจ�ำท�ำงานวิจัย ย่อมขาดทักษะทั้งในการค้นคืนวรรณกรรม การอ่าน และการสรุปสาระเพ่ือสังเคราะห์จัด
ท�ำรายงานผลการทบทวนวรรณกรรม ท�ำให้ได้ผลงานการทบทวนคุณภาพที่ด้อยคุณภาพ ดังนั้นนักศึกษา
ทกุ คน ควรตอ้ งเรมิ่ ตน้ ทำ� กจิ กรรมการทบทวนวรรณกรรมอยา่ งตอ่ เนอื่ งสมาํ่ เสมอตงั้ แตเ่ รมิ่ เขา้ ศกึ ษาในปแี รก
โดยก�ำหนดประเด็นท่ีสนใจจะท�ำวิจัยอย่างน้อย 3 ประเด็น และด�ำเนินการตามขั้นตอนการทบทวน
วรรณกรรมเก่ียวกับประเด็นวิจัยท้ัง 3 ประเด็นน้ัน โดยด�ำเนินการในลักษณะการตอบค�ำถาม 10 ข้อ ดังนี้
1) ต้องอ่านไปท�ำไม (why) เป็นค�ำถามอันดับแรก เพราะถ้าไม่รู้ว่าอ่านไปใช้ท�ำอะไร ย่อมไม่ได้ผลการอ่านท่ี
ต้องการ 2) ต้องเร่ิมอ่านเม่ือไร (when) 3) ต้องอ่านอะไร (what) 4) ต้องค้นจากไหน (where)
5) ค้นมาได้แล้วต้องอ่านอย่างไร (how) 6) ต้องอ่านมากเท่าไร (how many) 7) เขียน/จดบันทึกผลการอ่าน
แต่ละเร่ืองอย่างไร (how to make a note after reading) 8) ต้องสรุปจัดระเบียบ ประมวลสาระท่ีได้จาก
การอ่านและเร่ืองอย่างไร (how to organize) 9) น�ำสรุปผลการอ่านท่ีได้จัดท�ำร่างรายงานผลการทบทวน
วรรณกรรมอย่างไร (how to write a ‘literature review’ draft report) และ 10) ประเมินและปรับปรุง
รายงานผลการทบทวนวรรณกรรมอย่างไร (how to evaluate and revise ‘the draft report’) จากค�ำถาม
ท้ัง 10 ข้อ ข้างต้นนี้ การตอบค�ำถามข้อข้อแรก (ข้อ 1) มีความส�ำคัญมาก เพราะเป็นค�ำถามหลักท่ีว่า ‘การ
ทบทวนวรรณกรรมมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร’ ค�ำตอบสรุปได้ว่า วัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรม
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46