Page 42 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 42
2-32 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
สรุปได้ 8 ประการ คือ 1) เพื่อให้ได้ความคิดใหม่ในการท�ำวิจัยท่ีตนสนใจ จากการศึกษาท�ำความเข้าใจผล
งานวิชาการของนักวิชาการ และรายงานวิจัยของนักวิจัย เฉพาะเร่ืองท่ีตรงกับเรื่องท่ีตนสนใจ 2) เพื่อขยาย
ขอบเขตองค์ความรู้ของตนในประเด็นที่สนใจจะท�ำวิจัย 3) เพ่ือเริ่มต้นวางกรอบหรือก�ำหนดของเขตการวิจัย
ท่ีจะท�ำ 4) เพื่อสร้างเสริมความรู้เพิ่มเติมความรู้เดิมที่ได้จากประสบการณ์ตรงในการเรียนการสอน เพราะ
ประสบการณ์ตรงมักมีสาระล้าสมัย เม่ือเปรียบเทียบกับความทันสมัยและนวัตกรรมจากวรรณกรรมท่ีเผย
แพร่ล่าสุด 5) เพ่ือให้มีความรู้ที่มีหลักฐานทางวิชาการรองรับหนักแน่น ในการโต้แย้งทางวิชาการในการท�ำ
วิจัย 6) เพ่ือให้ได้ความรู้ใหม่ ทันสมัย ท่ีอาจท�ำให้เกิดความคิดในการท�ำวิจัยท่ีใหม่กว่า น่าสนใจ และมี
ประโยชน์มากกว่าความคิดเดิม 7) เพ่ือให้มีเนื้อหาสาระส�ำหรับการจัดท�ำรายงานวิจัย เพราะการเขียนรายงาน
ไม่อาจท�ำได้เหมาะสมเม่ือไม่มีการอ่านวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง 8) เพื่อให้มีความรู้ทางวิชาการและทางวิจัย
เพียงพอท่ีจะวิพากษ์วิจารณ์รายงานของเพื่อนนักศึกษาได้อย่างสมเหตุสมผล 9) เพ่ือเรียนรู้การน�ำผลงาน
วิจัยไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติจริง และ 10) เพ่ือแสวงหาประเด็นการวิจัยใหม่ ๆ ท่ียังไม่เคยมีใครศึกษา
วิจัยมาก่อน
โดยที่การทบทวนวรรณกรรม หรือการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง มีกิจกรรมหลัก 2 ชุด
ตอ่ เนอื่ งกนั คอื กจิ กรรมการคน้ ควา้ /คน้ คนื วรรณกรรม และกจิ กรรมการน�ำเสนอผลการทบทวนวรรณกรรม
กจิ กรรมแตล่ ะชดุ ตา่ งมวี ตั ถปุ ระสงคใ์ นการทำ� กจิ กรรมแยกยอ่ ยเปน็ หลายกจิ กรรม ตามเปา้ หมายการดำ� เนนิ
งาน โดยที่แต่ละกิจกรรมย่อยมีการก�ำหนดวัตถุประสงค์ของการทบทวนวรรณกรรมส�ำหรับกิจกรรมย่อยได้
ในขั้นตอนนี้จึงสรุปได้ว่า วัตถุประสงค์หลักของการทบทวนวรรณกรรม เมื่อจ�ำแนกตามกิจกรรมหลักในการ
ด�ำเนินงานการทบทวนวรรณกรรม มีวัตถุประสงค์หลัก 2 ด้าน และวัตถุประสงค์หลักแต่ละด้านจ�ำแนกเป็น
วัตถุประสงค์ย่อยของกิจกรรมย่อยแต่ละกิจกรรม ดังสาระต่อไปน้ี
วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ประการแรก เพอ่ื เพม่ิ พนู ความรคู้ วามสามารถของนกั วจิ ยั ในดา้ นการ
ค้นคนื และการศกึ ษาวรรณกรรมทเ่ี กีย่ วขอ้ ง จ�ำแนกเป็นวัตถุประสงค์ย่อย 2 ข้อ ดังน้ี
วัตถุประสงค์ย่อยข้อ 1) เพื่อให้นักวิจัยใช้ความรู้และทักษะการวิจัยที่เหมาะสม
ดำ� เนินการด้านการระบุประเภท ต�ำแหน่งที่อยู่ และวิธกี ารคน้ คนื วรรณกรรมทเ่ี กี่ยวขอ้ งได้
วัตถุประสงค์ย่อยข้อ 2) เพื่อให้นักวิจัยใช้ความรู้และทักษะการวิจัยที่เหมาะสม
ด�ำเนินการค้นคืน ประเมิน และคัดสรรวรรณกรรมท่ีตรงประเด็นวิจัยของตนได้ จากนั้นนักวิจัยด�ำเนินการ
ศกึ ษาวรรณกรรมทเ่ี กย่ี วขอ้ งไดเ้ หมาะสมถกู ตอ้ งตามหลกั การทบทวนวรรณกรรม และสามารถเรยี นรจู้ นรอบรู้
สารสนเทศทีส่ �ำคญั รวมท้ังจดบนั ทึกสาระสำ� คญั ทีไ่ ด้จากวรรณกรรมที่ค้นคืนได้อย่างมรี ะเบยี บ
วัตถุประสงค์หลักประการที่สอง เพื่อเพ่ิมพูนความรู้และทักษะปฏิบัติของนักวิจัยด้าน
การจดั ท�ำรายงานผลการทบทวนวรรณกรรม จ�ำแนกเป็นวัตถุประสงค์ย่อย 5 ข้อ ดังน้ี
วตั ถปุ ระสงคย์ อ่ ยขอ้ 1) เพอ่ื ใหน้ กั วจิ ยั ใชค้ วามรแู้ ละทกั ษะการวจิ ยั ทเ่ี หมาะสม จดั
ท�ำโครงร่างรายงานผลการทบทวนวรรณกรรมขัน้ ต้น
วัตถุประสงค์ย่อยข้อ 2) เพื่อให้นักวิจัยใช้ความรู้และทักษะการวิจัยท่ีเหมาะสม
ด�ำเนินการจัดท�ำร่างรายงานผลการทบทวนวรรณกรรมใหม่ท่ีถูกต้องเหมาะสมกว่าการทบทวนวรรณกรรม
ในงานวจิ ยั เดิม