Page 43 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 43
การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2-33
วัตถุประสงค์ย่อยข้อ 3) เพ่ือให้นักวิจัยใช้ความรู้และทักษะการวิจัยท่ีเหมาะสม
นำ� เสนอแนวคดิ ใหมใ่ นการวจิ ยั ตอ่ ยอดเพอื่ ปรบั ปรงุ พฒั นาจดุ บกพรอ่ งในผลการวจิ ยั เดมิ และสรา้ งนวตั กรรม
ใหม่
วัตถุประสงค์ย่อยข้อ 4) เพื่อให้นักวิจัยใช้ความรู้และทักษะการวิจัยท่ีเหมาะสม
ด�ำเนินการจัดท�ำโครงรา่ งและแนวการวิจยั แนวใหมท่ ่มี คี ุณภาพสูง มีนวตั กรรม ไมซ่ า้ํ ซอ้ นกบั งานวิจัยในอดตี
วัตถุประสงค์ย่อยข้อ 5) เพื่อให้นักวิจัยใช้ความรู้และทักษะการวิจัยที่เหมาะสม
ดำ� เนนิ การจดั ทำ� รายงานระบเุ ปา้ หมายการผลติ งานวจิ ยั ใหมท่ ส่ี รา้ งเสรมิ ความกา้ วหนา้ ขององคค์ วามรใู้ นศาสตร์
ท่ที �ำวจิ ยั
ผลการด�ำเนินงานตามวัตถุประสงค์หลักทั้งสองข้อ สรุปผลการด�ำเนินงานได้
ดังภาพท่ี 2.3
การศึกษาวรรณกรรม กจิ กรรมการค้นคว้า/ค้นคืนวรรณกรรมท่เี กีย่ วขอ้ ง
ทีเ่ กยี่ วข้อง วตั ถุประสงค์ เพื่อให้นักวิจัยมีความรอบรู้และศักยภาพเป็นอย่างดี 2 ประการ
1) ความรู้สารสนเทศ ระบุประเภท ท่ีอยู่ และวิธีการค้นคืนวรรณกรรมใหม่
2) ด�ำเนินการค้นคืน ประเมิน คัดสรร อ่าน บันทึก และสังเคราะห์วรรณกรรม
กจิ กรรมการน�ำเสนอวรรณกรรมท่เี กย่ี วขอ้ ง
วตั ถปุ ระสงค์ เพ่ือให้ได้ผลการเสนอสาระจากวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง 5 ประการ
1) โครงร่างรายงานผลการทบทวนวรรณกรรมส�ำหรับการวิจัยใหม่
2) ร่างรายงานผลการทบทวนวรรณกรรมใหม่ท่ีเหมาะสมกว่างานวิจัยในอดีต
3) แนวคิดใหม่ นวัตกรรมต่อยอดเพื่อพัฒนาผลการวิจัยเดิมที่ยังบกพร่อง
4) ร่างวิธีวิจัยใหม่ที่มีนวัตกรรม จุดเด่น คุณภาพสูงกว่างานวิจัยเดิม
5) เป้าหมายผลงานวิจัยใหม่ท่ีสร้างเสริมความก้าวหน้าขององค์ความรู้
ภาพที่ 2.3 วตั ถุประสงค์ของกิจกรรมหลักในการศึกษาวรรณกรรมท่เี กี่ยวข้อง
เพ่ือให้การค้นคว้าวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้องและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้องได้ผล
ตามวัตถุประสงค์ท่ีก�ำหนดไว้ นักวิจัยต้องท�ำกิจกรรมการค้นคว้าวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง 4 กิจกรรม คือ
1) การก�ำหนดวัตถุประสงค์ของการศึกษา 2) การระบุวรรณกรรมที่เก่ียวข้องและแหล่งค้นคืนวรรณกรรม
3) การสืบค้นและจัดหาวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง และ 4) การอ่าน จดบันทึกสาระ และจัดเก็บบันทึกสาระ
จากวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง จากนั้นนักวิจัยต้องท�ำกิจกรรมการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง 4 กิจกรรม
คือ 1) การก�ำหนดรูปแบบและโครงร่างรายงานวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2) การสังเคราะห์สาระจากบันทึกสาระ
จากวรรณกรรมที่เก็บไว้ 3) การเขียนร่างรายงานวรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง และ 4) การประเมินรายงาน
วรรณกรรมท่ีเกี่ยวข้อง