Page 47 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 47
การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง 2-37
เสมือนนักวิจัยยืนบนไหล่ของยักษ์ท่ีสูงใหญ่แข็งแรง ได้เรียนรู้ผลงานวิจัยใหม่ล่าสุดจากนักวิจัยรุ่นก่อน
อย่างท่ัวถึง และเกิดประโยชน์แก่นักวิจัยรุ่นหลัง ท�ำให้ใช้เวลาในการทบทวนวรรณกรรมน้อยลง เพราะได้
เรียนรู้จากผลงานวิจัยก่อนหน้าน้ีส่วนหนึ่งแล้ว จึงใช้เวลาเพียงเพื่อค้นคืนวรรณกรรมใหม่เฉพาะส่วนที่เป็น
นวตั กรรมตอ่ ยอดจากงานวจิ ยั เดมิ ประการทส่ี ่ี เปน็ เครอ่ื งมอื สำ� หรบั นกั วจิ ยั ใชใ้ นการตรวจสอบความถกู ตอ้ ง
เหมาะสมของผลงานวิจัยใหม่คาดว่าจะได้รับ ประเด็นน้ีมีความส�ำคัญ เพราะนักวิจัยสามารถตอบได้อย่าง
มั่นใจว่า ผลงานวิจัยใหม่ของตนน้ันมีนวัตกรรมที่ช่วยสร้างเสริมความรู้ใหม่ให้แก่วงวิชาการและวิจัยใน
ประเด็นใด และมีคุณค่าต่อวงวิชาการและวิจัยอย่างไร และประการทห่ี า้ เปน็ เครอื่ งมอื สำ� คญั ในการประหยดั
ทรพั ยากรในภาพรวม เพราะนักวิจัยทุกคนไม่ต้องใช้ทรัพยากรเพ่ือค้นคืนผลงานวิจัยในอดีต แต่ใช้ผลงาน
วิจัยของนักวิจัยรุ่นพ่ีท่ีท�ำมาก่อนเป็นฐานความรู้ เปรียบเสมือนนักวิจัยยืนบนไหล่ของยักษ์จึงมีฐานความรู้
จากการวิจัยในอดีตรองรับ เหลือเฉพาะงานค้นคืนวรรณกรรมใหม่ท่ีท�ำช่วงหลังเท่าน้ัน ผลการประหยัด
ทรัพยากรในภาพรวมจากนักวิจัยทุกคนทั่วโลกย่อมมีปริมาณมากพอในการท�ำประโยชน์ เช่น การให้ทุน
สนับสนุนการวิจัยท่ีมีคุณภาพต่อยอดงานวิจัยในอดีตได้ด้วย
2.2 ประโยชน์ของการทบทวนวรรณกรรมต่อผลงานวิจัย คณุ ภาพงานวจิ ยั และสังคม เมื่อเปรียบ
เทียบผลงานและคุณภาพงานวิจัยระหว่างงานวิจัยในระยะแรก และงานวิจัยในปัจจุบัน จะเห็นได้ว่านักวิจัย
รุ่นแรกท�ำงานหนักมากกว่านักวิจัยรุ่นหลัง เพราะนักวิจัยรุ่นแรกไม่มีรายงานวิจัยให้เห็นเป็นตัวอย่าง
เปรียบเทียบได้เสมือนนักวิจัยยืนบนพื้นราบ (มิได้ยืนบนไหล่ของยักษ์) และจ�ำเป็นต้องศึกษาอย่างหนัก เพื่อ
น�ำหลักวิจัยและหลักวิชาการในการศึกษาทฤษฎีทางวิชาการ เพ่ือต้ังต้นก�ำหนดปัญหาวิจัย วางกรอบแนวคิด
ในการวิจัยตามหลักปรัชญาด้านการออกแบบการวิจัย กล่าวได้ว่าเป็น “การเร่ิมต้นท�ำวิจัยจากศูนย์”
เม่ือเทียบกับนักวิจัยรุ่นหลังที่ยืนบนไหล่ของยักษ์ท่ีแข็งแรง “มิได้เร่ิมต้นการวิจัยจากศูนย์” เพราะนักวิจัย
รุ่นหลังมีผลงานวิจัยรุ่นแรกเป็นรากฐาน/แนวทางช้ีน�ำให้ท�ำวิจัยต่อยอด ท�ำให้มีเวลาและทรัพยากรอุทิศให้
ด้านการพัฒนากระบวนการวิจัยทุกขั้นตอน เน้นความส�ำคัญด้านการแก้ปัญหาจุดอ่อน/จุดบกพร่อง ให้ได้
กระบวนการวิจัยท่ีมีคุณภาพสูงและดีขึ้น จึงสรุปได้ว่า การทบทวนวรรณกรรมมีผลท�ำให้รายงานวิจัย
ระยะหลังเกิดประโยชน์ 4 ด้าน ด้านแรก ประโยชน์ด้านผลงานวิจัยท่ีตรงประเด็นปัญหาวิจัย รายงานวิจัย
ระยะหลังใช้ประโยชน์ได้ตรงประเด็น ไม่ซ้ําซ้อนกับงานวิจัยในอดีต และใช้ได้กว้างขวางมากกว่ารายงานวิจัย
ระยะแรก เพราะนักวิจัยได้บทเรียนจากรายงานวิจัยระยะแรก ด้านที่สอง ประโยชน์ด้านคุณภาพงานวิจัย
ระยะหลังดีขึ้น รายงานวิจัยระยะหลังมีคุณภาพดีขึ้นกว่ารายงานวิจัยระยะแรก เพราะนักวิจัยระยะหลัง
เรียนรู้ประเด็นความบกพร่องจากงานวิจัยระยะแรก ได้ป้องกัน/แก้ปัญหาความบกพร่อง และคิดหาแนว
ทางใหมท่ ม่ี คี ณุ คา่ ในการวจิ ยั อนั กอ่ ใหเ้ กดิ แนวคดิ ใหมใ่ นการวจิ ยั ดา้ นทส่ี าม ประโยชนด์ า้ นการเปน็ ตน้ กำ� เนดิ
ของแนวคิดใหม่ด้านวิธีวิทยาการวิจัย ความพยายามของนักวิจัยรุ่นหลังในการแก้ปัญหาความบกพร่องท่ี
พบในงานวิจัยระยะแรก ท�ำให้ได้ผลการพัฒนาวิธีวิทยาการวิจัยใหม่ ๆ จ�ำนวนมาก เช่น การพัฒนาวิธี
การวิจัย การวิจัยผสมวิธี (mixed method research) และการวิจัยแบบมีส่วนร่วมเพื่อชุมชน (Commu-
nity Based Participatory Research–CBPR) การพัฒนาเทคนิคการเรียนการสอน เช่น รูปแบบการเรียน
การสอนที่เรียกว่า ‘โมเดลทีแพค’ (Technological, Pedagogical, and Content Knowledge model