Page 56 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 56
2-46 การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
ทั้งแบบการสังเกตและการวัดท่ีมีคุณภาพสูง มีการเลือกตัวอย่างและ/หรือผู้ให้ข้อมูล การด�ำเนินการตาม
หลักวิจัยโดยไม่มีความล�ำเอียง ให้ได้ผลการวิจัยมีคุณภาพ และแบบการศึกษาข้อมูลอัตนัย การประมวล
ข้อมูลระยะยาวท่ีได้ทั้งหมด การจัดระเบียบความคิดจนเกิดแนวทางในการสังเคราะห์ข้อมูลให้ได้ ‘โลกทัศน์’
ที่ชัดเจนอันเป็นผลจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้ข้อมูลท้ังหมดตามทัศนะทางประวัติศาสตร์ และสังคม 4) วธิ ี
วิทยา ใช้ทั้งโลกทัศน์ด้านการตรวจสอบพิสูจน์ และด้านการสังเคราะห์ สรุปข้อมูลทั้งหมดเพ่ือสร้าง/พัฒนา
ทฤษฎี มุง่ ด�ำเนนิ การวเิ คราะหต์ รวจสอบความถูกต้องของทฤษฎีท่ีนำ� มาใช้เปน็ พ้ืนฐานแนวคดิ ในการวจิ ยั โดย
การก�ำหนดและการทดสอบสมมติฐานวิจัยตามหลักสถิติวิเคราะห์ให้ได้ค�ำตอบปัญหาวิจัยตามหลักการวิจัย
เชงิ ปรมิ าณ และแบบด�ำเนนิ การประมวล วิเคราะห์และสงั เคราะห์ขอ้ มูลจากผูใ้ หข้ ้อมูลส�ำคัญใหไ้ ด้ผลการวิจัย
และอภปิ รายผลการวจิ ยั ทงั้ เชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพเพอื่ ตรวจสอบพสิ จู น์ และประมวลสรปุ ใหไ้ ดผ้ ลสดุ ทา้ ย
ตามข้อค้นพบจากระดับต้นตอแหล่งข้อมูล สร้างเป็นทฤษฎีท่ีได้จากข้อมูลระดับรากหญ้า เรียกว่า ทฤษฎี
ฐานราก และ 5) วาทศลิ ป์ ใชโ้ ลกทศั นแ์ บบการเสนอรายงานวจิ ยั ทงั้ แบบเปน็ ทางการ และแบบไมเ่ ปน็ ทางการ
เพอ่ื นำ� เสนอรายงานวจิ ยั ดว้ ยวาจาและรายงาน ทง้ั แบบเปน็ ทางการ โดยมนี ยิ ามตวั แปรและเครอ่ื งมอื วดั ตวั แปร
ที่มีคุณภาพ น�ำสู่รายงานผลการวิจัยตรงตามความเป็นจริง และแบบไม่เป็นทางการ โดยเสนอสาระสรุปผล
การวิจัยโดยย่อและค�ำอุปมาในรูปอุปลักษณ์จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล และเสนอสาระสรุปความสัมพันธ์
เช่ือมโยงระหว่างอุปลักษณ์ตามปัญหาวิจัยท่ีก�ำหนด สรุปสร้างเป็นทฤษฎีท่ีได้จากข้อมูลระดับรากหญ้า เรียก
ว่า ทฤษฎีฐานราก ตวั อยา่ งแบบการวจิ ยั ผสมวธิ ี เช่น การวิจัยคู่ขนานแบบลู่เข้า การวิจัยล�ำดับเชิงส�ำรวจ หรือ
เชิงอธิบาย การวิจัยพหุระยะ และการวิจัยแปลงรูป
กล่าวโดยสรุป หลักปรัชญาของการวิจัย แตกต่างกันตามประเภทของการวิจัยท่ีส�ำคัญรวม 3 แบบ
(การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยผสมวิธี) แต่ละแบบใช้หลักปรัชญา และโลกทัศน์เชิง
ปรัชญาแตกต่างกัน ทั้ง 5 ด้าน คือ ภววิทยา (ontology) ญาณวิทยา (epistemology) คุณวิทยา หรือ อรรฆ-
วิทยา (axiology) วิธีวิทยา (methodology) และวาทศิลป์ (rhetoric) โดยการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัย
เชงิ คณุ ภาพมลี กั ษณะเฉพาะตวั ทแี่ ตกตา่ งกนั สว่ นการวจิ ยั ผสมวธิ ี มลี กั ษณะทเ่ี กดิ จากการหลอมรวมลกั ษณะ
เฉพาะตัวของการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ไว้ในกระบวนการวิจัยผสมวิธีดังสาระท่ีเสนอ
ข้างต้น และผู้วิจัยน�ำมาสรุปเป็นตารางแสดงค�ำส�ำคัญ (keywords) ท่ีใช้ในการวิจัยแต่ละแบบ และตัวอย่าง
แบบแผนการวิจัยดังตารางที่ 1