Page 57 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 57
การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมท่ีเก่ียวข้อง 2-47
ตารางที่ 1 ปรชั ญา ประเภท และแบบการวิจัย แยกตามโลกทศั นเ์ ชิงปรชั ญา 3 แบบ
โลกทศั น์ 3 แบบ
ปรัชญา 5 ด้าน หลงั ปฏฐิ านนิยม โครงสรา้ งนยิ ม ปฏบิ ตั ินยิ ม
1. ภววิทยา ความจริงแบบเดียว ความจริงหลากหลาย ความจริงแบบเดียว & แบบหลากหลาย
2. ญาณวิทยา แบบลดทอนนิยม ความหมายหลากหลาย แบบลดทอนนิยม & แบบความหมายหลาก
จากนักวิจัย และผู้ให้ข้อมูล หลายจากนักวิจัยและผู้ให้ข้อมูลส�ำคัญ
ส�ำคัญ
3. คุณวิทยา แบบสังเกตและวัดเชิง แบบสร้างทัศนะทางสังคม แบบสังเกตและวัดเชิงประจักษ์นิยม & แบบ
ประจักษ์นิยม และประวัติศาสตร์ สร้างทัศนะทางสังคมและประวัติศาสตร์
4. วิธีวิทยา การตรวจสอบพิสูจน์ การสังเคราะห์ ตรวจสอบ การตรวจสอบพิสูจน์ & การสังเคราะห์
พิสูจน์ข้อมูลเพ่ือสร้างทฤษฎี ตรวจสอบพิสูจน์ข้อมูลเพ่ือสร้างทฤษฎี
5. วาทศิลป์ แบบเป็นทางการ แบบไม่เป็นทางการ แบบเป็นทางการ & แบบไม่เป็นทางการ
ประเภทการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยผสมวิธี (เชิงปริมาณและเชิง
คุณภาพ)
แบบการวิจัย - วิจัยทดลอง - วิจัยแบบมีส่วนร่วม - วิจัยคู่ขนานแบบลู่เข้า
- วิจัยส�ำรวจ - วิจัยกรณีศึกษา - วิจัยล�ำดับเชิงส�ำรวจ หรือเชิงอธิบาย
- วิจัยและพัฒนา - วิจัยชีวประวัติ - วิจัยพหุระยะ
- วิจัยพยากรณ์ - วิจัยชาติพันธ์วรรณนา - วิจัยแปลงรูป
ท่ีมา: ปรับจากตาราง Creswell & Clark. (2011) และตาราง Peterson & Gencel. (2013).
2. กระบวนการวจิ ยั (research process)
กระบวนการวิจัยโดยทั่วไปประกอบด้วยข้ันตอนการด�ำเนินงานหลัก 5 ขั้นตอน คือ ขั้นการก�ำหนด
ปัญหาวิจัย ข้ันการทบทวนวรรณกรรม (literature review) เพื่อก�ำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัยและ
สมมติฐานวิจัย ขั้นการรวบรวมข้อมูล ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูล และขั้นการสรุปและอภิปรายผลการวิจัย
(Babbie, 2007; Cooper, Hedges, & Valentine, 2009; Kerlinger, 1973; Kerlinger & Lee, 2000)
เม่ือพิจารณาลงรายละเอียดแต่ละขั้นตอนในการด�ำเนินงานวิจัย นงลักษณ์ วิรัชชัย (2543, 2548, 2554)
อธิบายว่า กระบวนการวิจัยประกอบด้วยข้ันตอนการด�ำเนินงานรวม 11 ข้ันตอน เร่ิมต้นด้วยข้ันตอนการ
ก�ำหนดปัญหาวิจัย และต่อด้วยข้ันตอนการวิจัย รวม 10 ข้ันตอน ท่ีต้องด�ำเนินการต่อเน่ืองกันเป็นวงจร
โดยทกุ ขนั้ ตอนมปี ญั หาวจิ ยั เปน็ หลกั ในการดำ� เนนิ งานกระบวนการวจิ ยั ทงั้ หมดแสดงไดใ้ นรปู “วงจร
วิจัย (research cycle)” ท่ีมีปัญหาวิจัยเป็นแกนกลาง การด�ำเนินงานทุกข้ันตอนต้องตรงตามปัญหาวิจัย เมื่อ
นักวิจัยด�ำเนินการตามกิจกรรมในวงจรวิจัยครบถ้วนท้ังวงจร ย่อมได้รายงานวิจัยหน่ึงฉบับ และเมื่อเร่ิมท�ำ
วิจัยเร่ืองใหม่นักวิจัยเร่ิมด�ำเนินการตามวงจรวิจัยรอบใหม่ที่ไม่ซ้ํารอยเดิม แต่ควรเป็นงานวิจัยต่อยอด/ขยาย