Page 59 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 59
การค้นคว้าและการน�ำเสนอวรรณกรรมที่เก่ียวข้อง 2-49
2. การทบทวน (การค้นคว้า การศึกษา และการน�ำเสนอ) วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
11. การให้ข้อเสนอแนะ 3. การสร้างกรอบแนวคิด และการ
ก�ำหนดสมมติฐานวิจัย
10. การสรุปและอภิปราย
ผลวิจัย 1. ก ารก�ำหนด 4. การออกแบบการวิจัย
ปัญหาวิจัย
9. ก ารแปลความหมาย/การ 5. ก ารออกแบบการเลือกกลุ่ม
อ้างอิง ตัวอย่าง/กลุ่มผู้ให้ข้อมูล
8. ก ารเตรียมข้อมูล และการ 6. การนิยามตัวแปร/ก�ำหนดขอบข่ายข้อมูล
ออกแบบการวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างเคร่ืองมือวิจัย
7. การออกแบบการรวบรวม และตรวจสอบคุณภาพข้อมูล
ภาพท่ี 1 วงจรแสดงกระบวนการวจิ ัย 11 ขน้ั ตอน
ขน้ั ตอน 3 การสรา้ งกรอบแนวคดิ การวจิ ยั และการกำ� หนดสมมตฐิ านวจิ ยั การด�ำเนินงานในขั้นตอน
น้ีมีความแตกต่างกันระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ กล่าวคือ การวิจัยเชิงปริมาณ นักวิจัยต้อง
น�ำความรู้จากผลการค้นคว้า การศึกษา และการน�ำเสนอผลการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัย
มาสรุปให้เห็นกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี (กรณีท่ีใช้ทฤษฎีเป็นหลักในการวิจัย) และกรอบแนวคิดการวิจัย ซ่ึง
เป็นกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎีที่ปรับเพ่ิมความรู้จากงานวิจัยท่ีเก่ียวข้องให้ได้กรอบแนวคิดท่ีชัดเจนตรงตาม
ค�ำถามวิจัยมากขึ้น จากนั้นนักวิจัยจึงก�ำหนดสมมติฐานวิจัยท่ีสอดคล้องกับค�ำถามวิจัย และตอบค�ำถามวิจัย
ได้ อนึ่ง เป็นที่น่าสังเกตว่า ในการวิจัยเชิงคุณภาพแม้ว่านักวิจัยส่วนใหญ่อาจจะมีกรอบแนวคิดเบ้ืองต้นใน
การวิจัยจากการทบทวนวรรณกรรม แต่ไม่นิยมแสดงกรอบแนวคิดในการวิจัย และไม่นิยมระบุสมมติฐาน
วิจัย เพราะนักวิจัยมีเพียง ‘สมมติฐานวิจัยช่ัวคราว (tentative research hypothesis)’ นักวิจัยใช้ความรู้
จากการรวบรวมขอ้ มลู เชิงคณุ ภาพเพม่ิ เตมิ แตล่ ะครัง้ ในการปรบั ปรุงสมมติฐานวิจัยช่ัวคราวให้ตรงตามข้อเทจ็
จริงมากข้ึน ดังนั้นนักวิจัยเชิงคุณภาพจึงมีกรอบแนวคิดในการวิจัยและสมมติฐานวิจัยได้หลายชุด แต่ละชุด
มกี ารปรับเพม่ิ ให้มคี วามสมบูรณ์มากข้นึ จนกว่าข้อมลู ที่ได้รับถึงจุดอ่ิมตัว (saturated data) ไดก้ รอบแนวคิด
ในการวิจัยและสมมติฐานวิจัยสุดท้าย ซึ่งนักวิจัยน�ำไปพัฒนาเป็นทฤษฎีฐานราก ท่ีผ่านการตรวจสอบตาม
สมมติฐานวิจัยสุดท้าย และใช้เป็นสาระส�ำคัญในการเสนอผลการวิจัย อน่ึงผู้อ่านจะสังเกตเห็นได้ว่าผู้เขียน