Page 49 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 49

การออกแบบการวิจัย 3-39

       16. ตัวแปรการสอนแบบประยุกต์หรือใช้โมเดล (SCAPPLY) วัดจากข้อค�ำถาม 4 ข้อ
เก่ียวกับการสอนของครูท่ีมีการใช้โมเดลและการอธิบายของครูประกอบ ค่าความเท่ียงเท่ากับ .76	

       17.	 ตัวแปรการสอนวทิ ยาศาสตร์ของครู (LSENVI) วดั จากขอ้ คำ� ถาม 17 ขอ้ เกีย่ วกับจำ� นวน
คร้ังของการสอนวิทยาศาสตร์แบบสืบเสาะท่ีครูใช้ในชั้นเรียน ค่าความเท่ียงเท่ากับ .90 หมายเหตุ
ตัวแปรน้ีเป็นตัวแปรที่บอกถึงวิธีการสอนโดยภาพรวมของครู ตัวแปรท่ี 13-16 เป็นวิธีการย่อยของ
ตัวแปรนี้

       ตัวแปรระดับโรงเรียน ที่ใช้ ประกอบด้วย
       1.	ตวั แปรดมั มโ่ี รงเรยี นในเขตตวั เมอื ง (URBAN) 1 = โรงเรยี นในเขตเมอื ง และ 0 = โรงเรยี น
นอกเมือง
       2.	ตวั แปรดมั ม่ชี น้ั เรยี นขนาดเลก็ (SCLASS) 1 = มนี ักเรียนนอ้ ยกว่าหรือเทา่ กบั 30 คน และ
0 = มีนักเรียนต้ังแต่ 31 คนข้ึนไป
       3.	ขนาดโรงเรียน (SCZIZE) วัดได้จากจ�ำนวนนักเรียนในโรงเรียน
       4.	การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา (ACCOUNT) เปน็ ตวั แปรเกยี่ วกบั การเปดิ เผยผลการท�ำงาน
ของโรงเรียนต่อสังคม การที่สังคมมีความคาดหวังและแรงผลักดันต่อการท�ำงานของโรงเรียน และ
โรงเรียนมีการน�ำผลการเรียนของนักเรียนมาปรับปรุงการปฏิบัติงานของโรงเรียน ค่าความเท่ียงเท่ากับ
.50
       5.	บรรยากาศการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน (SCIENVI) เป็นตัวแปรท่ีเก่ียวกับการมี
กิจกรรมประเภทต่าง ๆ ที่จัดขึ้นเพ่ือส่งเสริมการเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน ค่าความเที่ยงเท่ากับ .65
       6.	อัตราส่วนของครูต่อนักเรียน (TSRATIO)
       7. จ�ำนวนคอมพิวเตอร์ส�ำหรับการเรียนการสอน (COMINST)
       8. จ�ำนวนคอมพิวเตอร์ที่เช่ือมอินเทอร์เน็ตได้ (COMINTER)
       9. ผลกระทบของข้อจ�ำกัดด้านทรัพยากรทางการศึกษาต่อคุณภาพการสอนของโรงเรียน
(CAPAC) ตัวแปรนี้ได้จากการประเมินตนเองของโรงเรียนเก่ียวกับความสามารถของโรงเรียนในการ
จัดการเรียนการสอน เมื่อวัสดุ อุปกรณ์ และสื่อการเรียนการสอนไม่เพียงพอ รวมถึงการที่โรงเรียน
มีครูและบุคลากรไม่เพียงพอ ค่าความเที่ยงเท่ากับ .90

วธิ กี ารวิเคราะหข์ ้อมลู

       การวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลหลากหลายวิธีเพื่อตอบค�ำถามวิจัยข้างต้น รายละเอียดของ
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์ข้อมูลและวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลมีดังต่อไปนี้

       วัตถุประสงค์การวิจัยที่ 1: การวิเคราะห์สถิติเชิงบรรยายของข้อมูลพื้นฐานของนักเรียนไทย
ท่ีเข้าร่วมโครงการประเมินในปี พ.ศ. 2549

       การวิเคราะห์ข้อมูลนี้ ใช้การวิเคราะห์การแจกแจงความถ่ี และไคสแควร์ เพ่ือศึกษาการ
แจกแจงของจ�ำนวนนักเรียนที่มีความสามารถสูงกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติและต่�ำกว่าค่าเฉลี่ยนานาชาติ
จ�ำแนกตามเพศ ท่ีต้ังของโรงเรียน และประเภทของโรงเรียน
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54