Page 75 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 75

การออกแบบการวิจัย 3-65

การปฏิรูปการศึกษาส่งผลต่อวิธีการสอนของครูอย่างไร การศึกษาปรากฏการณ์อาจไม่สามารถอธิบาย
ปรากฏการณ์ได้ครบถ้วน แต่ต้องการให้บุคคลตระหนักและรับรู้

       1.2	การศึกษาชาติพันธุ์วรรณา (Ethnography) มาจากรากศัพท์ทางมานุษยวิทยา ว่า “ภาพวาด
ของคน” ในการวิจัยเชิงคุณภาพ การศึกษาชาติพันธุ์วรรณาเป็นวิธีการที่ใช้อธิบายวัฒนธรรมของมนุษย์
วิธีการศึกษาน้ีมีหลักการพ้ืนฐานว่าคนมีลักษณะร่วมกัน เช่น อาศัยในพื้นที่เดียวกัน ศาสนาเดียวกัน เผ่า
เดียวกัน และมีประสบการณ์ร่วมกัน การศึกษาให้ถึงรากเหง้าของวัฒธรรมของคนจะสามารถช่วยให้ปฏิบัติ
ตอ่ กนั ไดถ้ กู ตอ้ งและเหมาะสมกบั วฒั นธรรม เชน่ การศกึ ษาวฒั นธรรมของชาวเขาอาจจะชว่ ยใหท้ ราบแนวทาง
การส่งเสริมสุขภาพของพวกเขาได้ดีขึ้น การศึกษาวัฒธรรมของโรงเรียนขนาดเล็กอาจจะพบแนวทางในการ
พัฒนาโรงเรียนได้ตรงกับความต้องการของครู นักเรียน และชุมชน เป็นต้น

       1.3	การสรา้ งทฤษฎจี ากข้อมูล (Grounded theory) มาจากการศึกษาวิจัยทางพยาบาล เป็นวิธีการ
ศึกษาที่คล้ายกับการศึกษาปรากฏการณ์ แต่มีความเข้มมากกว่า เพราะค�ำอธิบายปรากฏการณ์ท่ีมุ่งศึกษาต้อง
เปน็ ความรใู้ หม่ ซงึ่ จะถกู นำ� ไปใชพ้ ฒั นาทฤษฎเี พอ่ื อธบิ ายปรากฏการณท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งตอ่ ไป การเกบ็ ขอ้ มลู สำ� หรบั
การวิจัยนี้มีหลายวิธี เช่น การสัมภาษณ์ ซึ่งต้องมีการวิเคราะห์ข้อมูลทันทีระหว่างการสัมภาษณ์ เพ่ือน�ำผล
การวิเคราะห์ไปวางแผนเก็บข้อมูลภาคสนามต่อไป

       1.4	การวจิ ยั กรณศี กึ ษา (Case study) เปน็ การศกึ ษาขอ้ มลู เชงิ ลกึ ในบคุ คลคนเดยี ว หรอื คนกลมุ่ เลก็ ๆ
เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกมากกว่าการวิจัยเชิงปริมาณ นอกจากนี้ยังอาจใช้ศึกษากรณีท่ีมีความซับซ้อนมากขึ้น
เช่น การเปล่ียนแปลงของสถานการณ์ในสังคมในช่วงเวลาหน่ึง ๆ

2.	 การเลือกกลมุ่ ตวั อย่าง

       ผู้วิจัยต้องมีการอธิบายการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ซ่ึงอาจเป็นคน เหตุการณ์ หรือวัฒนธรรมก็ได้ ขึ้นอยู่
กบั หวั ข้อการวิจัย การเลือกกล่มุ ตวั อยา่ งในงานวจิ ัยเชิงคุณภาพตา่ งจากการส่มุ ในงานวิจัยเชิงปรมิ าณมาก คอื
กรอบการสุ่มในงานวิจัยเชิงคุณภาพมักเปลี่ยนแปลงไปในขณะท่ีท�ำการวิจัย เพราะนักวิจัยอาจต้องการได้
ข้อมูลใหม่ ซึ่งต้องเลือกคนมาศึกษาใหม่ การเลือกกลุ่มตัวอย่างอาจก�ำหนดจากผู้คนหรือสิ่งที่เห็นชัดก่อน
จากน้ันอาจได้ข้อมูลเพิ่มเติมจากการสัมภาษณ์ว่าควรจะเลือกใครมาศึกษาต่อไป วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่
ใช้กันมากในการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ การสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (purposive sampling) การสุ่มกลุ่ม
ตวั อยา่ งงา่ ย (convenient sampling) และการสมุ่ กลมุ่ ตวั อยา่ งแบบลกู โซ่ (chain sampling หรอื snowball
technique)

3. การเตรียมตัวทำ� งานภาคสนาม

       การท�ำงานภาคสนาม มี 4 ขั้นตอน คือ
       3.1	ข้ันเลือกสนาม ต้องพิจารณาความเหมาะสมว่าสนามน้ันสามารถตอบปัญหาวิจัยได้หรือไม่ มี
ขนาดพอเหมาะ (ไม่ใหญ่เกินไป) สะดวกในการเดินทาง ที่พักอาศัยและอาหารการกิน มีความปลอดภัย เมื่อ
เลือกสนามได้แล้ว นักวิจัยต้องเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จ�ำเป็นให้ครบถ้วน อาจต้องศึกษาความเป็นอยู่ ภาษา
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80