Page 77 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 77

การออกแบบการวิจัย 3-67

5.	 การวิเคราะห์ขอ้ มลู

       วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพที่ส�ำคัญ มี 3 วิธี คือ
       5.1	การวิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัย (induction) คือ วิธีการตีความสร้างข้อสรุปจากรูปธรรม และ
ปรากฏการณ์ท่ีมองเห็น ถ้าข้อสรุปยังไม่ชัดเจนต้องเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ิมเติม นักวิจัยต้องวิเคราะห์ข้อมูล
ด้วยตนเองพร้อม ๆ กับการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังน้ันนักวิจัยจึงต้องมีประสบการณ์และวุฒิภาวะใน
การตัดสินใจ
       5.2	การวิเคราะห์ด้วยการจ�ำแนกชนิดข้อมูล (typological analysis) คือ การจ�ำแนกข้อมูลเป็น
ชนิด ๆ ทกี่ �ำหนด เช่น อาจก�ำหนดใหต้ ้องเกบ็ ข้อมูลเกย่ี วกบั สถานการณ์ กิจกรรมทเี่ กดิ ขน้ึ หรือความสมั พนั ธ์
ระหว่างบุคคล เพื่ออธิบายให้เห็นความเป็นมา สาเหตุ และผลลัพธ์ของสิ่งที่วิเคราะห์
       5.3	การเปรียบเทียบโดยการเปรียบเทียบข้อมูล (constant comparison) โดยน�ำข้อมูลมาเทียบกัน
เพ่ือหาความสัมพันธ์ของข้อมูล ว่ามีความเก่ียวข้องกันอย่างไร เช่น แบบแผนทางเศรษฐกิจเก่ียวข้องกับ
แบบแผนทางการปกครองอย่างไร มีอะไรร่วมกันบ้าง
       ประเด็นส�ำคัญที่ควรค�ำนึงในการวิจัยเชิงคุณภาพ คือ ความตรง (validity) ซ่ึงความตรงของการ
วิจัยเชิงคุณภาพ หมายถึง ความเหมาะสมในการแปลความหมายและสรุปผลผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์
ของการวิจัย การจะสรุปผลการวิจัยได้ถูกต้องและเหมาะสม ขึ้นอยู่กับคุณภาพของข้อมูลวิจัยท่ีเก็บรวบรวม
มาอย่างมาก ดังน้ันกระบวนการเก็บข้อมูลจึงมีความส�ำคัญมาก โดยทั่วไปในการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ให้
คำ� นงึ ถงึ ความสอดคลอ้ งของคำ� ถามวจิ ยั ขอ้ มลู ทไี่ ด้ และวธิ กี ารทใ่ี ช้ กลา่ วคอื วธิ กี ารเกบ็ ขอ้ มลู ตอ้ งสอดคลอ้ ง
กับค�ำถาม และข้อมูลท่ีต้องการได้ นอกจากนี้การถอดข้อมูล การจดบันทึกกิจกรรม และการตัดสินใจของ
ผู้วิจัยในระหว่างการวิจัยต้องมีความครบถ้วนและถูกต้องด้วย เพื่อจะได้น�ำมาวิพากษ์วิจารณ์เพื่อสนับสนุน
คุณภาพด้านความตรง

              หลงั จากศกึ ษาเนอ้ื หาสาระเรื่องที่ 3.4.2 แลว้ โปรดปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 3.4.2
                      ในแนวการศึกษาหน่วยที่ 3 ตอนท่ี 3.4 เรอื่ งที่ 3.4.2
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82