Page 87 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 87

การออกแบบการวิจัย 3-77

                ตารางที่ 3.8 รปู แบบของการวิจัยแบบผสม

      ลำ� ดับ       ประเภท                          คำ� อธบิ าย
QUAL + quan     พร้อมกัน
                                 ท�ำการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปริมาณพร้อมกัน
QUAL ---> quan  แบบต่อเน่ืองกัน  แต่เน้นการวิจัยเชิงคุณภาพ
QUAN + qual     พร้อมกัน
                                 ท�ำวิจัยเชิงคุณภาพก่อน
QUAN ---> qual  แบบต่อเน่ืองกัน
                                 ท�ำการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพพร้อมกัน
                                 แต่เน้นการวิจัยเชิงปริมาณ

                                 ท�ำวิจัยเชิงปริมาณก่อน

QUAN หมายถึง การวิจัยเชิงปริมาณ qual หมายถึง การวิจัยเชิงคุณภาพ
+ หมายถึง ท�ำพร้อมกัน

---> หมายถึง ท�ำต่อเน่ืองกัน

       2.3	ขั้นตอนการบูรณาการข้อมูลเชิงปริมาณ และคุณภาพ การบูรณาการข้อมูลเชิงปริมาณ และ
คุณภาพในงานวิจัยแบบผสม หมายถึง การรวมข้อมูลท้ังสองประเภทเข้าด้วยกัน ประเด็นที่ส�ำคัญตามมา คือ
ค�ำถามว่ารวมกันในข้ันตอนใดของการท�ำวิจัย Tashakkori และ Teddlie (1998) และ Green, Caracelli,
และ Graham (1989) อธิบายว่าข้อมูลเชิงคุณภาพและข้อมูลเชิงปริมาณสามารถน�ำมารวมกันในข้ันตอน
ต่าง ๆ กัน ดังน้ี

            1)	รวมกันในแบบสอบถาม กล่าวคือ มีทั้งค�ำถามเชิงปริมาณ และค�ำถามเชิงคุณภาพใน
แบบสอบถามให้ผู้ตอบตอบ

            2)	รวมกันในการเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น มีทั้งค�ำถามปลายเปิด และแบบเลือกตอบใน
แบบสอบถามให้ผู้ตอบ

            3)	รวมกันในขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล เช่น แปลงข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นข้อมูลเชิงปริมาณ
เช่น เพศชาย = 1 หญิง = 0

            4)	รวมกันในข้ันตอนการแปลผล เช่น การหาข้อสรุปร่วมจากข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิง
คุณภาพ

3.	 คำ� ถามวจิ ัยแบบผสม

       เหตุผลที่นักวิจัยมีความจ�ำเป็นต้องต้ังค�ำถามวิจัยท่ีเป็นการวิจัยแบบผสม คือ ความซับซ้อนของ
ส่ิงท่ีต้องการศึกษา ในบางบริบท นักวิจัยมีปัญหาวิจัยท่ีมีความซับซ้อนมาก ในการท่ีจะตอบปัญหาวิจัยท่ี
ซับซ้อน นักวิจัยต้องการใช้วิธีการวิจัยมากกว่า 1 วิธี เพื่อตอบค�ำถามวิจัย นั่นคือการวิจัยเชิงปริมาณ หรือ
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92