Page 45 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 45

การวัดด้านทักษะพิสัย 7-35

2. 	การตรวจสอบความเทยี่ งของแบบสังเกต

       การตรวจสอบความเทย่ี งของแบบสงั เกตทใ่ี ชว้ ดั ดา้ นทกั ษะพสิ ยั เนน้ การหาความเทย่ี งแบบการวดั ซำ้�  
(test-retest reliability) และความเท่ียงระหว่างผู้ประเมิน (inter-rater reliability)

       2.1 	การหาความเทีย่ งของแบบสงั เกตแบบการวัดซำ้� แบ่งเป็น 2 กรณี คือ
            2.1.1 	การตรวจสอบความเท่ียงของแบบสังเกตด้วยการวัดซ�้ำในการวัดกระบวนการท�ำงาน

อาจท�ำได้ดังน้ี
                1) 	ถ้างานน้ันใช้เวลาไม่นานหรือไม่ซับซ้อนสามารถให้ผู้เรียนปฏิบัติงานซ�้ำแล้วท�ำการ

ประเมนิ โดยใชแ้ บบสงั เกตซ้�ำและตรวจสอบความสอดคลอ้ งของผลการประเมนิ โดยการคำ� นวณคา่ สมั ประสทิ ธ์ิ
สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

                2) 	ถ้างานน้ันมีความซับซ้อนต้องมีการบันทึกวีดิทัศน์แล้วเปิดวีดิทัศน์ท�ำการประเมิน
ซ�้ำโดยใช้แบบสังเกตและตรวจสอบความสอดคล้องของผลการประเมิน โดยการค�ำนวณค่าสัมประสิทธ์ิ
สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

            2.1.2 	การตรวจสอบความเท่ยี งของแบบสังเกตดว้ ยการวดั ซ�้ำในการวดั ผลงาน อาจท�ำได้โดย
ให้ผู้ประเมินคนเดียวท�ำการวัดซ�้ำแล้วตรวจสอบความสอดคล้องของผลการประเมิน โดยการค�ำนวณ
ค่าสัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

       2.2 	การหาความเท่ียงระหว่างผู้ประเมิน การหาความเท่ียงของแบบสังเกตวิธีนี้อาศัยแนวคิดท่ีว่า
ถา้ แบบสงั เกตทใี่ ชใ้ นการวดั ดา้ นทกั ษะพสิ ยั มคี ณุ ภาพดี สรา้ งอยา่ งถกู หลกั วชิ า มเี กณฑก์ ารใหค้ ะแนนทชี่ ดั เจน
มีคู่มือในการใช้แบบสังเกตท่ีช่วยให้ผู้สังเกตด�ำเนินการประเมินได้อย่างถูกต้องก็จะส่งผลให้การประเมิน
ระหว่างผู้ประเมินหลายคนมีความสอดคล้องกัน การหาความเที่ยงของแบบสังเกตวิธีน้ีใช้กรณีประเมิน
กระบวนการปฏิบัติงานผู้เรียนปฏิบัติงานเพียงครั้งเดียวโดยมีผู้สังเกตท�ำหน้าท่ีประเมินพร้อมกันอย่างน้อย
2 คน แล้วน�ำผลการประเมินมาตรวจสอบความสอดคล้อง หรือกรณีของการประเมินผลงานก็ให้ผู้สังเกต
อย่างน้อย 2 คน ท�ำการประเมินพร้อมกันแล้วน�ำผลการประเมินมาตรวจสอบความสอดคล้อง โดยใช้วิธี
ต่อไปน้ี

            2.2.1 ในกรณีท่ีมีผู้สังเกต 2 คน น�ำข้อมูลมาค�ำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
            2.2.2 ในกรณีท่ีมีผู้สังเกตมากกว่า 2 คน สามารถใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวน (ANOVA)
ในการตรวจสอบความสอดคล้องของผลการประเมิน ถ้ามีความสอดคล้องกันค่าเฉล่ียของคะแนนจาก
ผู้ประเมินแต่ละคนจะไม่แตกต่างกัน	
       การตรวจสอบคุณภาพของแบบสังเกตเน้นการตรวจสอบด้านความตรงและความเท่ียงด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ ซ่ึงควรเลือกใช้วิธีการตรวจสอบให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ รูปแบบ และองค์ประกอบอื่น ๆ ของ
แบบสังเกตที่สร้างข้ึน นอกจากวิธีการตรวจสอบคุณภาพของแบบสังเกตท่ีกล่าวมาแล้วยังมีวิธีการอื่น ๆ อีก
ซึ่งค้นคว้าเพ่ิมเติมได้จากแหล่งสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ

              หลงั จากศึกษาเนอ้ื หาสาระเรื่องท่ี 7.2.3 แล้ว โปรดปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 7.2.3
                      ในแนวการศึกษาหนว่ ยที่ 7 ตอนที่ 7.2 เรอื่ งที่ 7.2.3
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50