Page 47 - การวิจัยทางการวัดและประเมินผลการศึกษา
P. 47

การวัดด้านทักษะพิสัย 7-37

เร่ืองที่ 7.3.1 	แนวคิดเกยี่ วกับแบบสัมภาษณ์

       การสัมภาษณ์เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลท่ีต้องการโดยใช้วิธีการสื่อสารสองทางระหว่างผู้สัมภาษณ์
กับผู้ถูกสัมภาษณ์ จึงท�ำให้ได้ข้อมูลที่ละเอียดลึกซึ้งมากขึ้นในกรณีที่ต้องการข้อมูลเพ่ิมเติมจากการเก็บ
รวบรวมขอ้ มลู โดยวธิ ีอ่นื นอกจากน้นั ผ้สู ัมภาษณ์ยงั มโี อกาสสังเกตสภาพแวดลอ้ มขณะทำ� การสัมภาษณด์ ว้ ย
เครอื่ งมอื อยา่ งหนง่ึ ทช่ี ว่ ยใหผ้ สู้ มั ภาษณเ์ กบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไดต้ ามวตั ถปุ ระสงค์ ครอบคลมุ เนอ้ื หา และมคี วาม
สะดวกในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์ (interview form) ในเร่ืองนี้จะกล่าวถึงส่วนประกอบของ
แบบสัมภาษณ์ ประเภทของแบบสัมภาษณ์ และการใช้แบบสัมภาษณ์

1. 	สว่ นประกอบของแบบสัมภาษณ์

       แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือที่ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์ ซึ่งเป็นการสนทนา
ระหวา่ งผสู้ มั ภาษณก์ บั ผถู้ กู สมั ภาษณ์ แบบสมั ภาษณป์ ระกอบดว้ ยชดุ ของคำ� ถามทสี่ อดคลอ้ งกบั วตั ถปุ ระสงค์
ในการวิจัยและเน้ือท่ีส�ำหรับบันทึกข้อมูล แบบสัมภาษณ์มีส่วนประกอบส�ำคัญ 3 ส่วน คือ ส่วนที่ใช้บันทึก
ข้อมูลเก่ียวกับการสัมภาษณ์ เช่น ช่ือโครงการวิจัย วัน เดือน ปีท่ีสัมภาษณ์ เป็นต้น ส่วนที่บันทึกรายละเอียด
ส่วนตัวของผู้ถูกสัมภาษณ์ เช่น เพศ อายุ อาชีพ ศาสนา เป็นต้น และส่วนที่เป็นข้อค�ำถามในการสัมภาษณ์
ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย

2. 	ประเภทของแบบสมั ภาษณ์

       โดยท่ัวไปแบบสัมภาษณ์แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้างและแบบสัมภาษณ์
ชนิดไม่มีโครงสร้าง

       2.1 	แบบสมั ภาษณช์ นดิ มโี ครงสรา้ ง เป็นแบบสัมภาษณ์ที่มีการก�ำหนดชุดของค�ำถาม จัดหมวดหมู่
และเรียงล�ำดับไว้ล่วงหน้าอย่างเป็นระบบส�ำหรับใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ถูกสัมภาษณ์ทุกคนด้วยค�ำถามชุด
เดียวกัน รูปแบบของค�ำถามในแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างมีหลายรูปแบบ อาจเป็นค�ำถามที่มีตัวเลือก
คงท่ีหรือค�ำถามปลายเปิดเช่นเดียวกับข้อค�ำถามในแบบสอบถามดังรายละเอียดในหน่วยท่ี 6

       2.2 	แบบสมั ภาษณช์ นดิ ไมม่ โี ครงสรา้ ง เป็นแบบสัมภาษณ์ท่ีไม่ได้ก�ำหนดชุดของค�ำถามไว้ล่วงหน้า
อย่างเป็นระบบ เพียงแต่ก�ำหนดประเด็นค�ำถามส�ำคัญ ๆ หรือแนวทางในการตั้งค�ำถามให้สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ในการวิจัยไว้อย่างคร่าว ๆ ผู้สัมภาษณ์มีอิสระในการสัมภาษณ์ตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในการ
สัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างแต่ละบุคคล บางครั้งเรียกแบบสัมภาษณ์ชนิดน้ีว่า แบบสัมภาษณ์แบบก่ึงโครงสร้าง
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52