Page 28 - หลักการประชาสัมพันธ์และโฆษณา
P. 28

2-18 หลกั การประชาสมั พันธ์และโฆษณา

ค่านิยมผู้บริโภคไทย ประจ�ำปี พ.ศ. 2560 (Rassarin, 2560)

       1. 	สองตัวสองตน ผ้บู ริโภคไทยจ�ำนวนมากในยคุ ดิจทิ ลั จะมสี อง “ตวั ตน” น่ันคอื ตวั ตนในโลก
ออฟไลน์ (offline identity) น่ันคือ ตัวตนจริง และตัวตนในโลกออนไลน์ น่ันคือชื่อและภาพที่ใช้ในสื่อ
ดจิ ทิ ลั ทแ่ี ทนตวั ตน รวมไปถงึ รปู แบบ ลกั ษณะการแสดงออกในโลกออนไลน์ ซง่ึ อาจจะมคี วามแตกตา่ งจาก
ชีวิตจริงอย่างส้ินเชิงก็ได้ ดังน้ัน แบรนด์จึงจ�ำเป็นต้องวิเคราะห์ตัวตนสองตัวตนน้ีแยกส่วนกัน เนื่องจาก
สองตัวตนน้ีอาจมคี วามตอ้ งการท่แี ตกตา่ งกนั

       2. 	สองจิตสองใจ ผูบ้ รโิ ภคไทยในยคุ ดจิ ิทลั จะนิยมอ่านความคดิ เหน็ หรอื ท่ีเรียกว่า “รีวิว” (re-
view) ก่อนการตัดสินใจซ้ือสินค้า จนหลายคร้ังท�ำให้เกิดความลังเล ไม่แน่ใจว่าจะซ้ือสินค้าดีหรือไม่
เนื่องจากมีทั้งข้อดีและข้อจ�ำกัดจากหลากหลายความคิดเห็น ดังนั้นความคิดเห็นของผู้มีอิทธิพลออนไลน์
(influencer) จงึ จะมีบทบาทในการตดั สินใจของผู้บรโิ ภคอยา่ งมาก

       3. 	สองยุคสองสมัย ย่ิงสื่อดิจิทัลก้าวเข้ามามีบทบาทกับสังคมไทยมากขึ้นเท่าไร ก็ยิ่งเกิดความ
เหลือ่ มล้าํ ทางเทคโนโลยี หรือทเ่ี รยี กวา่ “รอยแยกดิจทิ ลั ” (digital divide) ระหว่างรนุ่ วยั ตา่ งๆ มากขนึ้
เทา่ นน้ั โดยเฉพาะคนรนุ่ ใหมท่ เี่ ปน็ พลเมอื งออนไลน์ (netizen) กบั คนรนุ่ เกา่ ทไี่ มถ่ นดั ไมค่ ลอ่ งแคลว่ และ
ไม่รู้ทันโลกดิจทิ ลั แบรนดต์ ่างๆ จงึ ต้องเขา้ ใจความแตกต่างนีด้ ว้ ย วา่ โครงการรณรงคเ์ ดียวกัน อาจจะไม่
สามารถใช้ทางดจิ ิทลั หรือส่ือดงั้ เดิมไดท้ างเดยี ว แต่อาจจะต้องบรู ณาการทั้งสองแนวทางเพื่อใหค้ รอบคลมุ
กลมุ่ เป้าหมายท่มี ีรนุ่ วยั แตกต่างกนั

       4. 	สองเพศทางเลือก สังคมไทยมีการเปิดรับเพศทางเลือกที่หลากหลายมากข้ึน และจากการ
ส�ำรวจหลายครั้งพบว่ากลมุ่ เพศทางเลือกน้ัน เป็นกลุม่ ท่ใี ชเ้ วลาในโลกออนไลนน์ านกว่ากล่มุ ชายและหญิง
รวมทั้งเป็นกลุ่มท่มี อี ำ� นาจในการใชจ้ ่าย (spending power) สูงดว้ ย

       5.	 ไม่สองฝักสองฝ่าย ประเทศไทยผ่านเหตุการณ์ความขัดแย้งทางการเมืองมาอย่างยาวนาน
หลายปี จนประชาชนมีความร้สู ึกต้องการความสงบ และไมต่ ้องการเหน็ ความแตกแยก แบรนด์ต่างๆ ท่มี ี
ภาพลักษณ์ในทางบวก ที่ไม่เกี่ยวข้องกับการเมืองหรือเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้ง จึงมักจะได้รับการ
ยอมรับจากผูบ้ รโิ ภคชาวไทย

       จากนั้นในปี ค.ศ. 2018 บริษทั เอ็นไวโรเซล กไ็ ดร้ ะบคุ วามเปล่ียนแปลงส�ำคญั 5 ประการที่จะมี
ผลตอ่ พฤตกิ รรมผ้บู ริโภคไทย ดงั ตอ่ ไปน้ี (Brandinside.asia, 2018)

       1. 	“From Human Touch to Human Less” คอื การเปลยี่ นแปลงจากการใหบ้ รกิ ารของมนษุ ย์
ไปสูก่ ารใหบ้ รกิ ารและปฏิสัมพันธ์กับลูกคา้ โดยไมต่ อ้ งใชพ้ นกั งานเลย เช่น การใช้หนุ่ ยนต์ หรือเทคโนโลยี
สแกนสนิ ค้า การจ่ายเงินผ่านระบบเซ็นเซอรห์ รอื ออนไลน์ รวมทั้งระบบท่ีลกู คา้ ทำ� ดว้ ยตนเอง (self-ser-
vice) ซง่ึ แลกกับความสะดวกสบายหรือคา่ ใชจ้ า่ ยทลี่ ดลง เชน่ การเติมนา้ํ มัน การเช็คอินท่ีสนามบนิ หรือ
ซ้อื ของในซูเปอร์มาร์เกต็ ดว้ ยตนเองโดยไมต่ อ้ งใชพ้ นกั งานเลย

       2. 	“From Word of Mouth to Word of Mouse” คอื การเปลย่ี นแปลงจากการเชอื่ ถอื โฆษณา
การรีวิว หรือแม้กระท่ังการแนะน�ำบอกต่อจากผู้อื่น มาเชื่อถือ “ผู้ช่วยอัจฉริยะ” ท่ีอยู่ในรูปแบบของ
เทคโนโลยี เชน่ ระบบตรวจสอบและตดิ ตามผลทางสขุ ภาพ และใหค้ ำ� แนะนำ� ทเ่ี หมาะสมกบั ขอ้ มลู ทบ่ี นั ทกึ
ไวข้ องแต่ละคน หรือโปรแกรม Alexa จากบรษิ ทั Amazon ทีส่ ามารถโต้ตอบ ใหค้ ำ� แนะน�ำกบั ผใู้ ชไ้ ด้
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33