Page 31 - หลักการประชาสัมพันธ์และโฆษณา
P. 31

แนวคดิ ใหมก่ ารประชาสมั พนั ธ์และการโฆษณาในยคุ ดจิ ิทลั 2-21

เรื่องที่ 2.2.2
แนวคิดใหม่เก่ียวกับการส่ือสารเพ่ือการประชาสัมพันธ์และโฆษณา

       หน่งึ ในแบบจ�ำลองดา้ นการสื่อสารทเ่ี ป็นทีร่ จู้ กั และไดร้ บั การอา้ งองิ มากที่สดุ คือ แบบจ�ำลองการ
สอ่ื สาร S-M-C-R ของ David Berlo ซงึ่ อธบิ ายวา่ องคป์ ระกอบหลกั ของการสอ่ื สารนน้ั แบง่ เปน็ 4 องค์
ประกอบ คอื Sender (ผสู้ ง่ สาร) ซง่ึ ทำ� การสง่ Message (สาร) ไปทาง Channel (ชอ่ งทาง) ไปสู่ Receiver
(ผรู้ บั สาร) โดยทใ่ี นแตล่ ะองคป์ ระกอบ จะมปี จั จยั ยอ่ ยๆ ทม่ี ากำ� หนดประสทิ ธภิ าพของการสอ่ื สารนน้ั เชน่
ทกั ษะ ความรู้ และทศั นคตขิ องผสู้ ง่ และผรู้ บั สาร สภาพสงั คม วฒั นธรรมทเี่ กดิ การสอื่ สาร โดยแบบจำ� ลองน้ี
บางครั้งเรียกว่าเป็นแบบจ�ำลองเส้นตรง (linear communication model) หรือแบบจ�ำลองการส่ือสาร
ทางเดยี ว (one-way communication) ดงั ภาพท่ี 2.5

                    ภาพที่ 2.5 แบบจำ�ลองการสื่อสาร SMCR ของ David Berlo

ท่ีมา:	 Communicationtheory.org, n.d., 2018.

       แบบจำ� ลอง S-M-C-R นี้มีประโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ ในการวิเคราะหอ์ งค์ประกอบท่สี �ำคัญท้ังสีข่ องการ
ส่ือสาร และได้ถูกน�ำไปปรับใช้กับการประชาสัมพันธ์และการโฆษณามาอย่างยาวนาน เช่น แบรนด์หรือ
องคก์ ารเปน็ ผสู้ ง่ สาร (source) วางแผนการออกแบบเนอื้ หาเพอ่ื เขา้ รหสั (encode) จนออกมาเปน็ ชน้ิ งาน
โฆษณาหรือข่าวประชาสัมพันธ์ คือ ตัวสาร (message) ซึ่งถูกส่งต่อไปทางช่องทางการส่ือสารต่างๆ
(channel) น่ันคือส่อื มวลชน เพ่อื จะนำ� สารไปสูผ่ ู้รบั สาร (receiver) นั่นคือผูบ้ ริโภค ใหเ้ กดิ ผลกระทบท้ัง
การรบั รู้ ทัศนคติ และท่สี �ำคญั ท่ีสุดคือพฤตกิ รรมการซ้ือ
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36