Page 29 - หลักการประชาสัมพันธ์และโฆษณา
P. 29
แนวคดิ ใหมก่ ารประชาสัมพนั ธ์และการโฆษณาในยคุ ดจิ ทิ ัล 2-19
3. “From Plain to Play Content” คือ ความเปล่ียนแปลงของ “เนื้อหา” (content) ในการ
สอ่ื สาร จากการเปน็ เนอื้ หาทนี่ �ำเสนอขอ้ ดที ว่ั ไปของแบรนด์ กลายเปน็ รปู แบบของเกม การแขง่ ขนั ทส่ี รา้ ง
ความสนุกและท้าทาย รวมทง้ั วงการเกมเองกม็ ีการขยายตัวข้ึนอย่างมาก
4. “From Store to Stream” คอื ความเปลยี่ นแปลงของชอ่ งทางการขาย จากร้านค้าทว่ั ไป ไม่
วา่ จะเปน็ รา้ นจรงิ หรอื รา้ นออนไลน์ ไปเปน็ การขายของผา่ นถา่ ยทอดสดทางออนไลน์ หรอื ทเ่ี รยี กวา่ “สตรมี ”
(stream) ผ่านทางโซเชยี ลมเี ดยี ต่างๆ
5. “From Actual to Virtual” คอื ความเปลยี่ นแปลงของการส่อื สารดว้ ยคนจรงิ (actual) ไป
เปน็ ตัวตนเสมอื น (virtual reality) หรือโปรแกรมพูดคยุ (chatbot) ซ่งึ แบรนด์ต่างๆ ไดน้ ำ� มาใชใ้ นการ
ช่วยให้บรกิ ารสะดวกรวดเร็ว และนา่ สนใจมากขน้ึ
นอกจากนน้ั บรษิ ทั Y&R Thailand ยังไดเ้ ปิดเผยผลการวจิ ยั “BAV 2018 วัดชพี จรแบรนด์
สแกนจริตคนไทย” โดยมขี ้อสรุป 6 ประการดังนี้ (Brandbuffet, 2018)
1. คนไทยเข้าถึงแบรนด์ได้ง่ายขึ้น แต่รู้สึกแผ่วพลังศรัทธาในแบรนด์ จากการท่ีแบรนด์ต่างๆ
ไลต่ ามกระแส เนน้ สรา้ งการรบั รจู้ นหลงลมื จดุ ยนื ทแ่ี ทจ้ รงิ ของแบรนด์ ทำ� ใหผ้ บู้ รโิ ภคไมจ่ ดจำ� และขาดศรทั ธา
ในแบรนด์
2. คนไทยภูมิใจและยอมรับในแบรนด์สัญชาติไทย แต่มองหาความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
กลา่ วคอื ผบู้ รโิ ภคไทยยอมรบั และตอ้ งการสนบั สนนุ แบรนดไ์ ทย แตย่ งั มองวา่ แบรนดไ์ ทยยงั ไมส่ ามารถสรา้ ง
ความแตกต่างใหโ้ ดดเดน่ ได้เหมอื นแบรนด์ต่างประเทศ
3. “คนไทยสามวัยช่ืนชอบแบรนด์เดียวกัน แต่มองเห็นคุณค่าของแบรนด์ในมุมที่แตกต่างกัน”
แสดงใหเ้ หน็ ถงึ ทศั นคติ ความตอ้ งการและการใหค้ ณุ คา่ ในของสง่ิ เดยี วกนั ทแี่ ตกตา่ งกนั ของผบู้ รโิ ภคตา่ งวยั
ทง้ั เจเนอเรชนั วาย (อายุ 21-36 ป)ี เจเนอเรชนั เอก็ ซ์ (อายุ 39- 59 ป)ี และเบบบี้ มู เมอร์ (อายุ 60 ปขี นึ้ ไป)
ดังนน้ั การสือ่ สารจึงควรมีจดุ เนน้ ที่ต่างกันสำ� หรับกลุ่มผู้รบั สารแตล่ ะกลุ่ม
4. “เพราะเมอื งไทยไมใ่ ชก่ รงุ เทพฯ และอย่ามองคนตา่ งจงั หวัดแบบเหมารวม” แบรนด์ไมค่ วรที่
จะทำ� การตลาดแบบเหมารวมคนกรงุ เทพฯ และตา่ งจงั หวดั รว่ มกนั เนอื่ งจากทงั้ สองกลมุ่ มมี มุ มองและความ
ต้องการต่อแบรนด์ที่ต่างกัน นอกจากน้ัน เมื่อน�ำสถานะการสมรสมาพิจารณาด้วย ก็จะพบว่าแต่ละกลุ่ม
ย่อยกจ็ ะมมี ุมมองของแบรนดท์ ี่ตา่ งกนั เช่นกัน
5. “คนไทยมองว่าแบรนด์ท่ีเป็นสัญลักษณ์ทางวัฒนธรรม (Cultural Icon) ต้องแข็งแกร่งเชิง
คณุ ค่า และมีบทบาทบนโลกโซเชียล” ซงึ่ แสดงใหเ้ หน็ วา่ คนไทยให้ความคาดหวังกบั แบรนด์ใหญว่ า่ ควร
เป็นมากกว่าแค่การขายสินคา้ แตค่ วรจะต้องมีบทบาทเปน็ ผ้นู �ำในทางสังคมท่ีดดี ว้ ย
6. “คนไทยจับจ่ายจากช่องทางที่หลากหลายมากข้ึน แต่ต้องการประสบการณ์ท่ีแตกต่างกันใน
แต่ละช่องทาง” ผู้บริโภคไทยน้ันมีพฤติกรรมการซ้ือท้ังออนไลน์และในแบบด้ังเดิม โดยคาดหวัง
ประสบการณ์ในแต่ละรูปแบบท่ีต่างกัน เช่น ช่องทางออนไลน์ต้องสะดวกสบายและคุ้มค่า ส่วนช่องทาง
ร้านคา้ ตอ้ งสะดวกและได้รับบริการที่ดี
ดงั นน้ั ทางบรษิ ทั Y&R จงึ ไดม้ ขี อ้ เสนอ 4 ขอ้ ในการสรา้ งคณุ คา่ ใหก้ บั แบรนดด์ งั ตอ่ ไปนี้ (Brand-
buffet, 2018)