Page 51 - วิถีไทย
P. 51

วถิ ไี ทยกับความหลากหลายทางสงั คมและวัฒนธรรม 2-41

ชาวชอง

       “ชาวชอง” เป็นเครอื ญาตชิ าตพิ ันธข์ุ องชาวเขมร จดั อยู่ในกลมุ่ ชนตระกลู มอญ-เขมร หรอื ออส-
โตรเอเชียติก (Austro-Asiatic) บ้างก็ว่าเป็นเขมรสาขาหน่ึง แต่ชาวชองมีวัฒนธรรมที่ต่างจากเขมรอยู่
พอสมควร มีภาษาพูดของตนเอง ชาวชองปัจจบุ ันอาศยั อยมู่ ากในบริเวณภาคตะวนั ออก โดยเฉพาะแถบ
จงั หวดั จนั ทบรุ ี ตราด ระยอง และฉะเชงิ เทรา เปน็ กลมุ่ ชาตพิ นั ธท์ุ นี่ ยิ มอาศยั อยตู่ ามปา่ เขา เชน่ เขาคชิ ฌกฏู
จงั หวดั จนั ทบรุ ี เขาบรรทดั จงั หวดั ตราด เขาชะเมา จงั หวดั ระยอง เขาอา่ งฤๅไน จงั หวดั ฉะเชงิ เทรา เปน็ ตน้

       อย่างไรก็ตาม มีต�ำนานพ้ืนบ้านเล่าขานว่า ชาวชองเคยอาศัยอยู่ในที่ราบและมียุคท่ีรุ่งเรือง มี
บ้านเมืองของตนเองมาก่อน เช่น ต�ำนานพระนางกาไว เจ้าเมืองกาไวหรือเมืองเพนียดโบราณ ตั้งอยู่ที่
เชิงเขาสละบาป อำ� เภอเมอื ง จงั หวดั จันทบุรี รวมทัง้ ตำ� นานเกี่ยวกับเจา้ ปกครองที่เปน็ ผู้หญิง ท่ีบา้ นค่าย
จังหวัดระยอง ซึ่งเป็นที่ต้ังของเมืองระยองเก่า สะท้อนความเช่ือเดิมของชาวชองท่ียึดถือระบบผู้หญิง
เปน็ ใหญ่

       ลักษณะการใช้ชีวิตเรียบง่ายของชาวชอง เป็นแบบหาของป่า และล่าสัตว์ มีการค้าแบบดั้งเดิม
โดยชาวชองจะน�ำของป่าออกมาขายยังหมู่บ้านชายเขาใกล้เคียง ชาวชองมีความรู้เรื่องยาสมุนไพรรักษา
โรคต่างๆ ได้ดี การอยู่ป่าของชาวชองน่าจะมีมาต้ังแต่ยุคท่ีการค้าของป่าแถบชายฝั่งทะเลยังคงรุ่งเรือง
ถอื เป็นชนพืน้ เมอื งเดมิ ในภาคตะวันออก กอ่ นที่ชาวจีน ชาวลาว และชาวญวน จะอพยพเข้ามา66

กิจกรรม 2.2.1
       จากเนอ้ื หาในขา้ งตน้ ความหลากหลายของกลมุ่ ชาตพิ นั ธแ์ุ ละถน่ิ ฐานบา้ นชอ่ งในสงั คมไทย มที ม่ี า

โดยสังเขปอยา่ งไร
แนวตอบกิจกรรม 2.2.1

       การอพยพเคล่ือนย้ายไปมา การลงหลักปักฐานของผู้คนเนื่องด้วยปัจจัยที่แตกต่างกันออกไปใน
แต่ละชว่ งเวลาเป็นผลท�ำใหส้ ังคมไทยประกอบข้ึนมาจากความหลากหลายของกลมุ่ ชาติพันธุ์ รูปแบบและ
พน้ื ทใี่ นการตง้ั ถน่ิ ฐานกเ็ ปน็ สง่ิ ทแ่ี สดงใหเ้ หน็ ถงึ ความเปน็ มาของผคู้ นแตล่ ะกลมุ่ ตามบรบิ ทเฉพาะ จากขา้ ง
ตน้ นผี้ เู้ ขยี นไดก้ ลา่ ววา่ สงั คมสยาม-ไทย ประกอบดว้ ยกลมุ่ ชาตพิ นั ธต์ุ า่ งๆ เชน่ จนี เขมร ลาว มอญ ญวน
กยุ หรอื สว่ ย แขกมุสลิม ฝรัง่ หรอื ชาติตะวนั ตก กะเหรี่ยง มง้ ชอง ในกรณขี อง ชาวจีน ชาวลาว ชาวมอญ
แขกมสุ ลมิ และฝรง่ั ชาตติ ะวนั ตก เหลา่ นไี้ ดอ้ พยพเคลอ่ื นยา้ ยเขา้ มาตงั้ ถน่ิ ฐานจนกลายมาเปน็ สว่ นหนงึ่ ของ
สังคมไทยในปัจจุบัน ขณะเดียวกันกลุ่มที่ชาติพันธุ์ท่ีอยู่ในดินแดนแถบนี้มาแต่เดิม เห็นได้จาก กลุ่ม
กะเหรีย่ ง ม้ง และชอง หากแตค่ นเหลา่ นีม้ ักเป็นกลุ่มทไี่ มไ่ ดร้ ับการยอมรับจากสังคมส่วนรวม ถูกเหยียด
โดยพิจารณาวา่ คอื ความเป็นอ่ืนท่อี ยู่ในสังคมไทย

         66 สชุ าติ เถาทอง. (2544). ศิลปวฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาพืน้ ถิ่นภาคตะวันออก. กรงุ เทพฯ: โอเดยี นสโตร์. น. 10-13.
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56