Page 57 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 57

วรรณกรรมท้องถนิ่ ภาคอสี าน 8-47
  ประสงค์อันใดจึงให้เอ้ินข้าน้อยมาเข้าเฝ้าก่อนไก่ บัดนี้ข้าน้อยก็เฮ็ดตามค�ำส่ังเรียบร้อยเเล้วคือจูงไก่
  มาตามหลัง สรุปก็คือข้าน้อยมาก่อนไก่” หลังจากพระราชาได้ฟังเเบบนั้นก็คิดโมโหเซียงเม่ียงอยู	่
  ในใจเเต่ก็หวนคิดถึงค�ำสั่งของตัวเองคลุมเครือไม่ชัดเจนจึงท�ำให้ผลออกมาเป็นเเบบนี้ และเสียรู้	
  เซียงเม่ียง 

กิจกรรม 8.2.1
       1. 	จงอธบิ ายความแตกตา่ งระหวา่ งวรรณกรรมมขุ ปาฐะและวรรณกรรรมลายลกั ษณข์ องภาคอสี าน

โดยสังเขป
       2. 	จงอธบิ ายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวรรณกรรมมขุ ปาฐะและวรรณกรรรมลายลกั ษณข์ องภาคอสี าน

โดยสงั เขป
แนวตอบกิจกรรม 8.2.1

       1. 	วรรณกรรมมขุ ปาฐะของภาคอสี านเปน็ มรดกทางภมู ปิ ญั ญาของชาวอสี านทม่ี กี ารจดจ�ำและเลา่
สบื ตอ่ จากคนรนุ่ หนง่ึ ไปสคู่ นอกี รนุ่ หนงึ่ ซง่ึ ความเหมอื นหรอื ความตา่ งกนั ของเนอื้ หาขนึ้ อยกู่ บั ความทรงจำ�
สตปิ ญั ญา ประสบการณห์ รอื ความสามารถของผถู้ า่ ยทอด ทำ� ใหเ้ รอ่ื งเดยี วกนั มลี กั ษณะไมค่ งที่ บางสำ� นวนสนั้
บางสำ� นวนยาว สว่ นวรรณกรรมลายลกั ษณข์ องภาคอสี าน มแี หลง่ ทมี่ าจากวรรณกรรมพทุ ธศาสนา วรรณกรรม
ทอ้ งถ่นิ อ่ืนแลว้ และพฒั นาการมาจากวรรณกรรมมขุ ปาฐะของภาคอีสานเองทเ่ี ป็นท่นี ิยมและแพรก่ ระจาย
อยู่ในท้องถ่ินแล้วมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร และประพันธ์เป็นเรื่องราวด้วยฉันทลักษณ์ท้องถิ่น
มแี บบแผนและพถิ พี ถิ ันในการเรยี งรอ้ ยถ้อยค�ำ มีเนือ้ หาคงท่หี รืออาจแตกตา่ งกันเลก็ นอ้ ย

       2. 	วรรณกรรมมขุ ปาฐะและวรรณกรรมลายลกั ษณข์ องภาคอสี านมคี วามสมั พนั ธก์ นั อยา่ งแนบแนน่
จนแทบจะแยกไมอ่ อก เพราะบางครง้ั วรรณกรรมมขุ ปาฐะทไี่ ดร้ บั ความนยิ มกม็ กี ารนำ� มาบนั ทกึ ไวก้ ลายเปน็
วรรณกรรมลายลักษณ์ และเมื่อวรรณกรรมลายลักษณ์เรื่องใด เป็นที่นิยมก็มีการน�ำเอาวรรณกรรม
ลายลกั ษณเ์ ร่ืองนั้น มาเล่าสืบต่อกันในรูปแบบของวรรณกรรมมุขปาฐะต่อไปอีก แต่อาจมีขนาดสั้นกว่า
วรรณกรรมลายลกั ษณ์
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62