Page 59 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 59

วรรณกรรมทอ้ งถน่ิ ภาคอีสาน 8-49

1. 	 พญาคันคาก (คางคก)

       1.1 	ความส�ำคัญของเรื่อง วรรณกรรมท้องถ่ินอีสานเร่ืองพญาคันคาก ชาวอีสานเช่ือกันว่าเป็น
ชาดกหรอื เปน็ อดตี ชาตหิ นง่ึ ของพระพทุ ธเจา้ แตค่ วามจรงิ แลว้ ไมป่ รากฏอยใู่ นนบิ าตชาดก ซง่ึ เปน็ ลกั ษณะ
เฉพาะของวรรณกรรมนิทานภาคอีสานที่พยายามจะยกให้เป็นชาดกดังที่กล่าวมาแล้ว วรรณกรรมเรื่อง
พญาคนั คากนีม้ บี ทบาทสำ� คัญตอ่ สงั คมอสี านมาก นอกจากจะเป็นวรรณกรรมทม่ี ีเฉพาะในภาคอสี านแล้ว
ชาวอีสานยังน�ำวรรณกรรมเรื่องน้ีมาใช้เทศน์เพ่ือขอฝนเช่นเดียวกับการแห่บั้งไฟด้วย โดยมีการจัดเป็น
พธิ ใี หญ่ และจดั พธิ ีคล้ายกันกับพธิ บี ญุ ผะเวส หรือเทศน์มหาชาติด้วย

       1.2 	ส�ำนวนโวหาร พญาคนั คาก ประพันธ์ดว้ ยโคลงสาร มสี ำ� นวนโวหารทโ่ี ดดเด่นมากมาย ซ่งึ
มกั แตง่ เปน็ บทผญาผสมกบั โคลงสาร มลี กั ษณะทค่ี ลา้ ยกบั สำ� นวนไทย ดงั เชน่ สำ� นวนกระตา่ ยหมายจนั ทร์
ส�ำนวนผ้าขี้ร้ิวห่อทอง ส�ำนวนเพชรในตม ส�ำนวนอดเปร้ียวไว้กินหวาน ดังตัวอย่างบทผญาส�ำนวน
อดเปร้ยี วไวก้ นิ หวาน ข้อความว่า

ให้เจ้าอดสาเย้ือน กินเกลือตางลาบ 	                     ไปท้อน
อดสาจ�้ำแจ่วด้านๆ ซามพ้อป่นปลา 	                       ลูกเอย
ให้เจ้ากลืนกินง้วนขมฮึนไปก่อน                          นั้นเนอ
บุญเฮามีซิค่อยพ้อน�้ำอ้อย ค�ำเข้าให้ต่งเอา 	           ได้ลือ
ไก่บ่ทันพอข้าซิเอาไปแกงอ่อม 	                          นั้นแล้ว
ม้าบ่สมพอขี่แท้หลังซิแอ่นเม่ือลุน	
ให้ลูกอดส้มไว้ซามใหญ่กินหวาน                           น้ันแล้ว
งัวควายบ่สมพอตอนไปตอนบาปเวรซิต�ำต้อง                   (พระอรยิ านุวตั ร, 2513, น. 7)
คือดั่งแหบ่สมข้องสะโนลอยบ่ห่อนค่อง
ตาบอดบ่สมแว่นแก้วแยงได้บ่ค่องคือ 	                       ซามพอ้ = รอคอยจนกวา่ จะพบเหน็ ,
	                                                        ต่ง = รองเอา, 	 	
                                                         ซามใหญ่ = รอคอยจนกวา่ จะโต,
(เยื้อน = รอคอย 	 จ�้ำ = จิ้ม 	 	 	                      สะโน = โสน
ฮนึ = รสเฝ่อื น	  พอ้ = พบ/เหน็ 		 	                     หอ่ น = ไม่
ขา้ = ฆ่า 	       เมอื่ ลนุ = ภายหลงั 	 	                ค่องคอื = งามซ้ึง)
ตอน = ท�ำใหส้ บื พนั ธุ์ต่อไปไม่ได้  แยง = ส่องดู 	 	
แว่น = กระจก	     บ่ = ไม่ 	 	 	
ค่อง = สะดวก/คล่องแคล่ว, แยง = สอ่ งดู	 	 	

       1.3 	คณุ คา่ ของเรอ่ื ง เรอ่ื งพญาคนั คากมงุ่ สอนใหค้ นทำ� ความดี ละเวน้ ความชวั่ ตามหลกั พทุ ธศาสนา
โดยเฉพาะการรักษาศีล 5 เพราะเช่ือว่าพญาคันคากคือพระโพธิสัตว์เสวยชาติเป็นคางคก นอกจากนี้ยัง
สะท้อนให้เห็นแนวความคิดในการจัดการกับปัญหาความทุกข์ยากในการด�ำเนินชีวิตของชาวอีสานท่ีต้อง
   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64