Page 58 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 58
8-48 ภาษาถ่ินและวรรณกรรมทอ้ งถิน่ ไทย
เร่ืองที่ 8.2.2
วรรณกรรมลายลักษณ์เร่ืองส�ำคัญ
วรรณกรรมลายลกั ษณ์ หมายถงึ วรรณกรรมทมี่ กี ารจดบนั ทกึ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษรบนวสั ดตุ า่ งๆ
ด้วยตัวอักษรธรรมและอักษรไทยน้อยดังกล่าวมาแล้ว และในปัจจุบันบันทึกด้วยตัวอักษรไทย บันทึกใน
ใบลานเรยี กวา่ “หนงั สอื ใบลานหรอื คมั ภรี ใ์ บลาน” อกี อยา่ งหนง่ึ ถา้ บนั ทกึ ในใบลานขนาดยาวภาคอสี านเรยี กวา่
“หนงั สอื ผกู ” บนั ทกึ ในใบลานขนาดสนั้ เรยี กวา่ “หนงั สอื กอ้ ม” บนั ทกึ บนตวิ ไมไ้ ผ่ เรยี กวา่ “หนงั สอื เจยี ง”
เปน็ ตน้ วรรณกรรมลายลกั ษณท์ มี่ กี ารบนั ทกึ เหลา่ นมี้ กั เปน็ วรรณกรรมทมี่ แี บบแผนในการเรยี งรอ้ ยถอ้ ยคำ�
เป็นวรรณกรรมท่ีพิถีพิถันกันมากกว่าค�ำบอกเล่าธรรมดา ส่วนมากจะมีเน้ือหาคงที่หรืออาจแตกต่างกัน
เลก็ นอ้ ย เชน่ ลำ� มหาชาตหิ รอื เวสสนั ดรชาดก มาลยั หมน่ื มาลยั แสน พระเจา้ สบิ ชาติ สงั ขศ์ ลิ ปช์ ยั การะเกด
นางผมหอม พระยาค�ำกองสอนไพร่ โหราศาสตร์ ต�ำรายา ฮตี สิบสองคองสิบสี่ เป็นตน้
วรรณกรรมลายลกั ษณภ์ าคอสี านนอกจากวรรณกรรมพทุ ธศาสนาและวรรณกรรมของภมู ภิ าคหรอื
ทอ้ งถน่ิ อนื่ แลว้ วรรณกรรมลายลกั ษณย์ งั มพี ฒั นาการมาจากวรรณกรรมมขุ ปาฐะของภาคอสี านเองทมี่ เี ลา่
สืบทอดกันมาในท้องถิ่นที่เป็นท่ีนิยมและแพร่กระจายอยู่ในท้องถิ่นแล้วมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
และประพนั ธเ์ ปน็ เรอื่ งราวดว้ ยฉนั ทลกั ษณท์ อ้ งถน่ิ เปน็ ส�ำนวนรอ้ ยกรอง โดยเฉพาะโคลงสารหรอื ทเ่ี รยี กวา่
กลอนล�ำ กาพย์และรา่ ยเป็นส่วนมาก และมีจากส�ำนวนรอ้ ยแกว้ ด้วย เปน็ วรรณกรรมท่มี ีแบบแผนในการ
เรยี งรอ้ ยถอ้ ยคำ� ทเ่ี ปน็ สำ� นวนโวหาร เปน็ วรรณกรรมทพ่ี ถิ พี ถิ นั กนั มากกวา่ คำ� บอกเลา่ ธรรมดา แตล่ ะสำ� นวน
ส่วนมากจะมเี นอ้ื หาคงทหี่ รอื อาจแตกต่างกนั เล็กนอ้ ย
อย่างไรก็ดีวรรณกรรมทั้งสองประเภทน้ีมีความสัมพันธ์กันอย่างแนบแน่นจนแทบจะแยกไม่ออก
เพราะบางครงั้ วรรณกรรมมขุ ปาฐะทไ่ี ดร้ บั ความนยิ มกม็ กี ารนำ� มาบนั ทกึ ไวก้ ลายเปน็ วรรณกรรมลายลกั ษณ์
และวรรณกรรมลายลักษณ์ก็มีการน�ำมาเล่าสืบต่อกันแต่อาจมีขนาดส้ันกว่าวรรณกรรมลายลักษณ์ ดังที่
ประคอง นมิ มานเหมนิ ท์ (2554, น. 324-325) กลา่ ววา่ วรรณกรรมมุขปาฐะและวรรณกรรมลายลกั ษณ์
มกั จะมคี วามสมั พนั ธก์ นั อยา่ งแนน่ แฟน้ วรรณกรรมลายลกั ษณจ์ ำ� นวนมากมที ม่ี าจากวรรณกรรมมขุ ปาฐะ
ผสู้ ร้างสรรคว์ รรณกรรมลายลักษณม์ ักนำ� เร่อื งเลา่ ซ่งึ เดิมมีขนาดส้นั ๆ มาขยายให้มีขนาดยาวขึ้น โดยการ
เพม่ิ ตัวละคร เหตุการณ์ สถานท่ี ระบชุ ื่อตัวละคร ช่ือสถานท่ี ตลอดจนบรรยายให้ผ้อู ่านเห็นภาพทม่ี แี สง
สีและเสียงอย่างชัดเจน ท้ังอาจเพิ่มเติมถ้อยค�ำเพ่ือความงามทางวรรณศิลป์ นอกจากน้ี เม่ือวรรณกรรม
ลายลกั ษณ์เรอื่ งนนั้ ๆ เปน็ ทีน่ ิยมก็มีการน�ำไปถ่ายทอดในรปู ของวรรณกรรมมุขปาฐะต่อๆ ไปอีก
เนอ้ื หาของวรรณกรรมลายลกั ษณข์ องวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ ภาคอสี านมี 5 ประเภท ดงั กลา่ วมาแลว้
ในทนี่ จ้ี ะนำ� เสนอวรรณกรรมลายลกั ษณป์ ระเภทวรรณกรรมนทิ านซง่ึ เปน็ นทิ านทม่ี เี ฉพาะในภาคอสี านหรอื
บางเรอ่ื งมใี นภาคอน่ื ดว้ ย แตม่ ลี กั ษณะเฉพาะและเปน็ ทน่ี ยิ มมากในภาคอสี าน เพอ่ื เปน็ ตวั อยา่ งดงั ตอ่ ไปน้ี