Page 72 - ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถิ่นไทย
P. 72

8-62 ภาษาถิ่นและวรรณกรรมท้องถน่ิ ไทย
นำ� เครอื่ งบรรณาการมาสขู่ อนางฟา้ หยาดแตไ่ มส่ �ำเรจ็ เพราะพระยาฟา้ แดดไมย่ อม พระยาจนั ทราชจงึ ไดย้ ก
ทพั มาตเี มอื งฟา้ แดดสงยางโดยขอความชว่ ยเหลอื ไปยงั เมอื งเชยี งสง เชยี งสา เชยี งเครอื เชยี งสะบตุ ร เชยี ง
ซอ้ ย ใหส้ ง่ กองทพั มาชว่ ย สว่ นเมอื งฟา้ แดดกข็ อใหพ้ ระยาอสี รู ยผ์ เู้ ปน็ อนชุ าแหง่ เมอื งสงยางมาชว่ ยรบ เมอ่ื
มกี ารสรู้ บกนั มคี นลม้ ตายเปน็ จำ� นวนมาก และพระยาจนั ทราชพลาดทา่ เสยี ทถี กู ฟนั สนิ้ พระชนมบ์ นคอชา้ ง
แม่ทัพนายกองเห็นดังนั้นจึงยอมแพ้ต่อเมืองฟ้าแดด นางฟ้าหยาดเมื่อรู้ข่าวการสิ้นพระชนม์ของพระยา
จนั ทราช กม็ คี วามโศกเศรา้ เสยี ใจเปน็ อยา่ งมากในทส่ี ดุ กส็ นิ้ ชวี ติ ตายตามพระยาจนั ทราชบนปราสาทกลางนำ้�  

            ต่อมาพระยาฟ้าแดดก็ให้น�ำศพนางฟ้าหยาดและศพพระยาจันทราชบรรจุลงในหีบทองค�ำ
ตกแตง่ อยา่ งสวยงามและใหส้ รา้ งเจดยี ไ์ วค้ กู่ นั เปน็ อนสุ รณไ์ ว้ (ปจั จบุ นั อยทู่ างทศิ ตะวนั ตกของเนนิ เมอื งฟา้ แดด
สงยาง) กอ่ นทจี่ ะบรรจอุ ฐั ขิ องนางฟา้ หยาดและพระยาจนั ทราช พระยาฟา้ แดดไดร้ บั สงั่ ใหช้ า่ งหลอ่ พระพทุ ธ
รปู และเทวรปู ทองค�ำจำ� นวน 84,000 องค์ และประกาศใหช้ าวเมืองฟา้ แดดสงยางหล่อหรอื สรา้ งพระพทุ ธ
รูปทุกครวั เรอื น โดยใหห้ ล่อหรอื สร้างด้วยทองคำ�  อิฐ หนิ หรอื ดินเผาตามแต่ศรทั ธาแล้วบรรจไุ วใ้ นเจดยี ์คู่
เพอ่ื เปน็ การบชู าและลา้ งบาปทก่ี ระทำ� ผดิ ไวต้ อ่ นางฟา้ หยาดและพระยาจนั ทราช จากนนั้ ไดม้ อบใหพ้ ระยาธรรม
ไปปกครองเมืองเชยี งโสมและสง่ ส่วยแกเ่ มอื งฟ้าหยาดเป็นประจำ� ทกุ ปี

       นอกจากวรรณกรรมทอ้ งถนิ่ อีสานทย่ี กตวั อย่างมานี้ ยงั มวี รรณกรรมทอ้ งถิ่นอสี านอกี จ�ำนวนมาก
ซึ่งเป็นที่นิยมช่ืนชอบของชาวอีสาน บางเร่ืองมีการน�ำมาแสดงเป็นหมอล�ำ  หนังประโมทัยหรือหนังตะลุง
หรือแมแ้ ต่น�ำมาใชเ้ ทศนใ์ นงานบญุ หรือในช่วงเทศกาลเขา้ พรรษา เป็นตน้

กิจกรรม 8.2.2
       1. 	จงบอกประเภทเน้ือหาของวรรณกรรมลายลักษณ์ของวรรณกรรมท้องถ่ินภาคอีสานพร้อมท้ัง

อธิบายพอสังเขป
       2. 	จงอธิบายลักษณะฉันทลักษณ์ที่เป็นท่ีนิยมสูงสุดของวรรณกรรมลายลักษณ์ของวรรณกรรม

ท้องถ่ินภาคอสี านพอสังเขป
แนวตอบกิจกรรม 8.2.2

       1. 	ประเภทเน้ือหาของวรรณกรรมลายลักษณ์ของวรรณกรรมท้องถิ่นภาคอีสานส่วนมากแบ่งไว้
5 ประเภท ไดแ้ ก่

            1) 	วรรณกรรมพทุ ธศาสนา มที ง้ั วรรณกรรมชาดกทพ่ี ระสงฆน์ ยิ มนำ� มาเทศน์ และวรรณกรรม
ต�ำนานพทุ ธศาสนา โดยเฉพาะเปน็ นิทานชาดกและนทิ านธรรม

            2) 	วรรณกรรมประวตั ิศาสตร ทีเ่ ป็นเรอ่ื งเกีย่ วกบั ประวัตศิ าสตรท์ อ้ งถ่นิ หรือประวัติวรี บรุ ุษ
ของท้องถิ่น ทมี่ คี วามเก่ยี วขอ้ งกบั คตคิ วามเชื่อและภมู ินามสถานทใี่ นทอ้ งถน่ิ

            3) วรรณกรรมนิทาน มีเนื้อหาที่เก่ียวกับท้องถ่ินมีลักษณะเฉพาะของท้องถิ่นและมีการรับ
มาจากทีอ่ ่นื แลว้ น�ำมาปรบั เปลย่ี นให้เข้ากบั วิถีวฒั นธรรม คา่ นยิ มและคตคิ วามเชอื่ ของทอ้ งถ่ิน
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77